Page 185 - J Trad Med 21-1-2566
P. 185
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 165
ได้รับความสนใจส�าหรับการประยุกต์ใช้ในการ กลุ่มอาการลองโควิดอย่างเป็นองค์รวมในอนาคต
จัดการผลกระทบทางสุขภาพในมิติต่าง ๆ ของ
กลุ่มอาการลองโควิด เนื่องจากผลกระทบของกลุ่ม วิธีก�รสืบค้นข้อมูล
อาการลองโควิดส่งผลกระทบต่อมิติต่าง ๆ ของ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงเอกสาร
สุขภาพที่มิได้จ�ากัดเพียงสุขภาพด้านร่างกายเท่านั้น [8] (documentary research) โดยทบทวนวรรณกรรม
การแพทย์ทางเลือกและการแพทย์ผสมผสานเป็น ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการลองโควิดและผล
ศาสตร์การแพทย์ที่เน้นลักษณะการเข้าถึงสุขภาพ ของการนวดทุกประเภทต่ออาการที่พบในกลุ่มอาการ
ของผู้ป่วยแบบองค์รวมเป็นหลัก การผสมผสานการ ลองโควิด สืบค้นจากหนังสือ บทความ และงานวิจัย
แพทย์ทางเลือกและการแพทย์ผสมผสานจึงมีบทบาท ที่เกี่ยวข้องจากฐานข้อมูลออนไลน์ ได้แก่ PubMed
[9]
ส�าคัญอย่างมากต่อการรักษากลุ่มอาการลองโควิด และ Google Scholar โดยคัดเลือกจากบทความหรือ
จากการศึกษาพบว่า แนวทางการแพทย์ทางเลือกที่ งานวิจัยที่น�าเสนอผลของการนวดต่อกลุ่มอาการลอง
หลากหลายเช่น การแพทย์แผนจีน การฝังเข็ม ชี่กง โควิดผ่านกระบวนการยับยั้งการอักเสบ กระบวนการ
และการนวด ส่งผลทางบวกต่อสุขภาพด้านร่างกาย กระตุ้นภูมิคุ้มกัน และอาการแสดงของกลุ่มอาการลอง
และจิตใจของผู้ป่วยโควิด-19 [10] โควิด ระบุค�าสืบค้นในฐานข้อมูลออนไลน์ ได้แก่ การ
การนวดเป็นศาสตร์แห่งการบ�าบัดและรักษา นวด กลุ่มอาการลองโควิด และ โควิด-19
ของแพทย์ทางเลือกซึ่งเป็นที่สนใจของประชาชนทั่ว
โลก ประสิทธิผลของการนวดตอบสนองในมิติของ เนื้อห�ที่ทบทวน
สุขภาพที่หลากหลาย เช่น สุขภาพด้านร่างกาย และ
[11]
ด้านจิตใจ ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาด กลุ่มอ�ก�รลองโควิด (Long COVID)
ของโควิด-19 ศาสตร์การนวดได้ถูกกล่าวถึงในการ กลุ่มอาการลองโควิด (Long COVID) เป็น
ประยุกต์ใช้ต่อการรักษาอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นจาก กลุ่มอาการที่คงอยู่ภายหลังจากที่ผู้ป่วยโควิดได้รับ
โควิด-19 และกลุ่มอาการลองโควิด แม้ว่าจะมีข้อ รักษาและหายจากโควิด-19 โดยผู้ป่วยจะมีอาการคง
[13]
วิพากษ์ถึงความเสี่ยงและความคุ้มทุนของการนวด อยู่เป็นเวลาหลายสัปดาห์หรือหลายเดือน บางครั้ง
ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 กลุ่มอาการลองโควิดมักถูกเรียกว่า “Post-COVID
[12]
นอกจากนี้ยังมีการนวดไทย โดยการนวดไทยเป็น syndrome’’ ซึ่งอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นหลังจากที่
ศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่ได้รับการถ่ายทอดจาก ผู้ป่วยได้รับเชื้อ SARS-CoV-2 ประมาณ 3-12 สัปดาห์
ภูมิปัญญาในอดีต วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ หรือในผู้ป่วยบางรายอาการลองโควิดอาจยาวนานกว่า
คือ เพื่อศึกษาข้อมูลผลของการนวดทุกประเภทต่อ ช่วงเวลาดังกล่าวขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคและ
กลุ่มอาการลองโควิด ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะแสดงให้เห็น ลักษณะของผู้ป่วย กลไกการเกิดกลุ่มอาการลอง
[14]
ถึงความเชื่อมโยงเบื้องต้นระหว่างผลของการนวดกับ โควิด เริ่มต้น เกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อ severe
กลุ่มอาการลองโควิดและยังเป็นแนวทางการประยุกต์ acute respiratory syndrome coronavirus 2
การนวดสู่กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพและรักษา (SARS-CoV-2) และการเกิดการเพิ่มจ�านวนของเชื้อ