Page 190 - J Trad Med 21-1-2566
P. 190
170 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
[58]
หนัก ท�าให้ผู้ป่วยมีคุณภาพการนอนหลับที่ดีขึ้น ระยะ ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่ลดลง
เวลาการนอนหลับเฉลี่ยนานขึ้น มีการหายใจที่ดีขึ้น ซึ่ง
กลุ่มอาการดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับระดับของความ บทวิจ�รณ์
[54]
วิตกกังวลของผู้ป่วย ผลของการนวดในกลุ่มผู้ป่วย จากการทบทวนข้อมูลเกี่ยวกับผลของการนวด
มะเร็งที่มีอาการนอนไม่หลับ ที่พบว่า ผู้ป่วยมีระดับ ต่อกระบวนการยับยั้งการอักเสบและกระตุ้นระบบ
คุณภาพการนอนหลับดีขึ้นและมีระยะเวลาการนอน ภูมิคุ้มกันผ่านกลไกการท�างานของร่างกายที่หลาก
หลับเฉลี่ยนานขึ้น นอกจากนี้ การนวดยังสามารถ หลาย รวมถึงผลของการนวดต่ออาการแสดงของ
[55]
เพิ่มคุณภาพในการนอนหลับและระดับคุณภาพชีวิต กลุ่มอาการลองโควิดจะเห็นได้ว่า การนวดส่งผลต่อ
ของกลุ่มผู้หญิงวัยหมดประจ�าเดือนที่มีอาการนอนไม่ การลดระดับของ cytokine ที่มีอิทธิพลต่อการเกิด
หลับได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ [56] กระบวนการอักเสบ ตัวอย่างเช่น IL-2, IL-6, IL-8,
แม้ว่าการนวดตามหลักการแพทย์แผนไทยจะ IL-10, และ TNF-α และกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือด
มีข้อห้าม ข้อควรระวังในการนวดกรณีผู้ป่วยที่มีไข้ ขาวชนิด lymphocyte รวมถึงปรับระดับฮอร์โมนที่
สูง จากการศึกษาที่ผ่านมาได้แสดงให้เห็นว่า ระดับ ส่งผลต่อการเกิดกลุ่มอาการลองโควิดเช่น ฮอร์โมน
อุณหภูมิของร่างกายเด็กที่เป็นไข้ลดลงหลังจากได้ arginine-vasopressin และ cortisol และยับยั้งการ
รับการนวดเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม เช่นเดียวกับ เกิดภาวะ oxidative stress ซึ่งเป็นที่มาของการเกิด
[57]
การศึกษาผลของการนวดในกลุ่มทารกและเด็กเล็กที่ กลุ่มอาการต่าง ๆ ของอาการลองโควิด หากพิจารณา
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ การนวดส่งผลกระตุ้น ตามต้นเหตุของกลุ่มอาการลองโควิด การนวดจึงเป็น
ต่อระบบประสาทพาราซิมพาเทติกและท�าให้ระดับของ แนวทางที่มีความเป็นไปได้ต่อการยกระดับคุณภาพ
ไข้ลดลง นอนหลับง่ายขึ้น และมีอาการแสดงของโรค ชีวิตและลดความรุนแรงของกลุ่มอาการลองโควิด
ภาพที่ 1 ผลของการนวดต่อกลุ่มอาการโควิด