Page 218 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 218
632 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
มาก ใบประดับติดทน สีออกขาว รูปใบหอกกว้าง นอกจากนี้ ยังมีอะล็อกทิน (aloctin), อะล็อกทีนเอ
[6-7]
กว้าง 5-6 เซนติเมตร ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มี (aloctin A), อะล็อกทินบี (aloctin B) กรดแอมิโน
เส้น 5-7 เส้น ปลายแหลม เนื้อค่อนข้างบางและแห้ง ไขมัน และสารกลุ่มสเตอรอล (sterols) เช่น ลูพีออล
ดอกโค้งพับลง ก้านดอกสั้นกว่ากลีบรวม กลีบรวม 6 (lupeol), แคมเพสเตอรอล (campesterol), บีตา-ซิ
กลีบ สีเหลืองอ่อนหรือสั้ม มีจุดประสีแดง โคนเชื่อม โทสเตอรอล (b-sitosterol) [5]
ติดกันเป็นหลอด ค่อนข้างโป่งด้านเดียว ยาว 2.5-3 ข้อบ่งใช้ รักษาแผลไฟไหม้ น�้าร้อนลวก ฝี
เซนติเมตร ปลายแยกเป็นแฉกลึกเกือบครึ่งของหลอด แผลพุพอง [8-9]
ปลายแฉกโค้ง เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ ต�าราสรรพคุณยาไทยว่า ว่านหางจระเข้มีรส
รวม ก้านชูอับเรณูรูปลิ่มแคบ สีขาว โผล่พ้นหลอดดอก จืดเย็น แพทย์ชนบทใช้ใบผ่าครึ่งตัดเป็นวงกลม เอา
ขึ้นมา 4-5 มิลลิเมตร อับเรณูมี 2 ช่อง ติดด้านหลัง ปูนแดงทาที่วุ้นแล้วปิดขมับแก้ปวดศีรษะ เป็นต้น
[10]
แตกตามช่องเปิดแนวตั้ง รังไข่เหนือวงกลีบมี 3 ช่อง สรรพคุณพอกฝี รักษาแผลไฟไหม้ น�้าร้อนลวก รักษา
แต่ละช่องมีหลายออวุล ก้านยอดเกสรเพศเมียเรียว อาการไหม้จากแสงแดด รักษาโรคกระเพาะอาหาร
คล้ายเส้นด้าย โผล่พ้นดอกชัด ยอดเกสรเพศเมียเล็ก บ�ารุงร่างกาย แก้ร้อนใน [11]
ผล แบบผลแห้งแตกกลางพู ยาว 1.4-2.2 เซนติเมตร ข้อมูลการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่า ว่านหาง-
[1-2]
เมล็ด มี 3 เหลี่ยม มักมีปีก จระเข้ มีฤทธิ์ต้านอักเสบ ท�าให้แผลสัตว์ทดลองที่เกิด
ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดนี้อาจ จากความร้อนหายเร็วขึ้น [12-15] เป็นต้น
เป็นพืชพื้นเมืองในแถบเมดิเตอร์เรเนียน แพร่พันธุ์ได้ ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยทางคลินิกในผู้ป่วย
ดีในเขตร้อนในประเทศไทยนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ แผลไหม้จากความร้อน 27 ราย เปรียบเทียบระหว่าง
และเป็นยาสมุนไพร [1-2] การใช้ยาเจลว่านหางจระเข้ และการใช้ผ้าก๊อซเคลือบ
ลักษณะเครื่องยา วุ้นว่านหางจระเข้มีลักษณะ วาสลีน พบว่าระยะเวลาที่ใช้รักษาแผลไหม้ในผู้ป่วย
[16]
เป็นก้อนโปร่งใส ทิ้งไว้จะเป็นของเหลวหนืด โปร่งใส ที่ใช้ยาเจลว่านหางจระเข้สั้นกว่าอย่างมีนัยส�าคัญ
กลิ่นเฉพาะ รสจืด การศึกษาในผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้น�้าร้อนลวกที่ไม่
องค์ประกอบทางเคมี วุ้นว่านหางจระเข้ รุนแรง 38 ราย เปรียบเทียบประสิทธิผลวุ้นสดกับ
มีองค์ประกอบเป็นน�้าราวร้อยละ 98.5 สารกลุ่ม ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน (silver sulfadiazine) พบว่า
คาร์โบไฮเดรตราวร้อยละ 0.3 โดยมีสารกลุ่มพอลิ- วุ้นสดได้ผลร้อยละ 95 ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับซิลเวอร์-
แซ็กคาไรด์ (polysaccharides) เช่น กลูโคแมนแนน ซัลฟาไดอะซีนได้ผลร้อยละ 83 และประมาณ 1 ใน
(glucomannan), เอซีแมนแนน (acemannan), 3 ของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม มีอาการระคายเคืองบริเวณ
[17]
เพกทิน (pectin), เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose), ที่ทายาเล็กน้อย การศึกษาผลของยาครีมว่านหาง
และสารกลุ่มมอโนเซ็กคาไรด์ (monosaccharides) จระเข้ในผู้ป่วยแผลไหม้ระดับ 2 พบว่า กลุ่มที่ได้รับ
และอนุพันธ์ เช่น แมนโนส (mannose), กาแล็กโทส ยาครีมว่านหางจระเข้หายเร็วกว่ากลุ่มที่ได้รับซิลเวอร์-
[18]
(galactose), กรดกาแล็กทูโรนิก (galacturonic ซัลฟาไดอะซีนอย่างมีนัยส�าคัญ
acid), กรดแมนนูโรนิก (mannuronic acid) การทบทวนอย่างเป็นระบบ (systematic re-
[4-5]