Page 220 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 220

418 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม  2565




                                                                                     [9]
           ยำวประมำณ 1.5 เซนติเมตร [1-2,5-8]           กลุ่มแทนนินในพืชมีฤทธิ์ฝำดสมำน  และยังมี
                ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์  พืชชนิดนี้พบ  รำยงำนว่ำสำรสกัดสมอพิเภก มีฤทธิ์ลดระดับน�้ำตำล

                                                                  [10]
           ขึ้นตำมป่ำผลัดใบ ป่ำเต็งรัง และป่ำดิบแล้ง ทำงภำค  กลูโคสในเลือด  ฤทธิ์ต้ำนเซลล์มะเร็งบำงชนิด [11]
           เหนือ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภำคกลำง ภำคตะวัน
           ออก และภำคตะวันตก ที่สูงจำกระดับน�้ำทะเล 100-

           400 เมตร ทำงภำคใต้มักพบขึ้นตำมที่รำบในป่ำดิบ              เอกสารอ้างอิง
           แล้ง ก่อนออกดอกจะทิ้งใบ เมื่อผลิใบใหม่จนเต็มต้น    1.  ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย
                                                           เล่ม 5 คณำเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 2. ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์. 2547.
           จึงเริ่มออกดอกตั้งแต่เดือนมีนำคมถึงพฤษภำคม ผล
                                                           หน้ำ 247-9.
           จะแก่จัดระหว่ำงเดือนกันยำยนถึงพฤศจิกำยน [7]    2.  ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมำส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส์. ค�ำอธิบำย
                ลักษณะเครื่องยา  สมอพิเภกเป็นผลแห้งรูป     ต�ำรำพระโอสถพระนำรำยณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษำ
                                                           มหำรำชำ 5 ธันวำคม พุทธศักรำช 2542. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
           เกือบกลมถึงรูปรีกว้ำง กว้ำง 1.5-3 เซนติเมตร ยำว   ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์ และมูลนิธิภูมิปัญญำ; 2548. หน้ำ 622-4.

           2-3.5 เซนติเมตร อำจเห็นสันตำมยำว 5 สัน ผิวมีขน    3.  ส่วนพฤกษศำสตร์ป่ำไม้ ส�ำนักวิชำกำรป่ำไม้ กรมป่ำไม้. ชื่อพรรณ
                                                           ไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์. กรุงเทพฯ: บริษัทประชำชน
           สีน�้ำตำลแกมสีเหลืองถึงสีน�้ำตำลเข้ม หนำแน่น แข็ง  จ�ำกัด. 2544. หน้ำ 519.

           มำก โคนเรียวเป็นก้ำนสั้น ๆ ภำยในมีเมล็ดเดียว กว้ำง    4.  Billore KV, Yelne MB, Dennis MB, Chaudhari BG.
                                                           Database on medicinal plants used in Ayurveda. Vol.
           ประมำณ 1 เซนติเมตร ยำวประมำณ 1.5 เซนติเมตร      3. New Delhi: Central council for research in Ayurveda
           ปลำยด้ำนหนึ่งแหลมกว่ำอีกด้ำนหนึ่ง รสขม เฝื่อน   and Siddha (Department for AYUSH, Ministry of Health
                                                           and Family Welfare). 2005. p. 158.
           และฝำด [1-2,5]                                5.  Thai Herbal Pharmacopoeia. Vol. II. Nonthaburi: Depart-
                องค์ประกอบทางเคมี  สมอพิเภกมีสำรส�ำคัญ     ment of Medical Sciences, Ministry of Public Health.

           เป็นสำรกลุ่มแทนนิน (tannins) ได้แก่ กรดชีบูลำจิก   2000. p. 71-3.
                                                         6.  Kirtikar KR, Basu BD, An ICS. Indian medicinal plants.
           (chebulagic acid) กรดเอลลำจิก (ellagic acid)    Vol. II. Dehra Dun (India): Bishen Singh Mahendra Pal
           กรดแกลลิก (gallic acid) เป็นต้น นอกจำกนี้ ยังมี  Singh. 1993. p. 1017-20.
                                                         7.  ก่องกำนดำ ชยำมฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: หจก.
           สำรบีตำ-ซิโทสเตอรอล (b-sitosterol) น�้ำมันระเหย  ชุติมำกำรพิมพ์. 2528. หน้ำ 356-7.
           ยำก (fixed oil) เป็นต้น [1-2,5]               8.  van Steenis CGG.J. Flora Malesiana. Series 1, Vol. 4.
                                                           Djakarta: Noordhoff-Kolff. 1954. p. 569.
           ข้อบ่งใช้  -                                  9.  Tyler VE, Brady LR, Robbers JE. Pharmacognosy. 9th

                ต�ำรำสรรพคุณยำไทยว่ำสมอพิเภกมีสรรพคุณ      ed. Philadelphia: Lea & Febiger. 1988. p. 77-80.
                                                         10.  Sabu MC, Ramadasan K. Anti-diabetic activity of me-
           แก้เสมหะจุกคอ ท�ำให้ชุ่มคอ แก้โรคตำ แก้ธำตุก�ำเริบ   dicinal plants and its relationship with their antioxidant
           บ�ำรุงธำตุ แก้ไข้ เป็นต้น  สมอพิเภกจัดเป็นเครื่องยำ  property. J Ethnopharmacol. 2002;81:155-60.
                                                         11.  Sandhya T, Lathika KM, Pandey BN, Mishra KP. Potential
           สมุนไพรชนิดหนึ่งในพิกัดตรีผลำ [1-2]
                                                           of traditional ayurvedic formation, Triphala, as a novel
                ข้อมูลจำกกำรศึกษำวิจัยพรีคลินิกพบว่ำสำร    anticancer drug. Cancer Lett. 2006;231(2):206-14.
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225