Page 191 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 191

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  389




                 2.2  ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้  บทบาท  3. กำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง
            หน้าที่ของการเป็นครูแพทย์พื้นบ้าน ทั้ง 3 คน พบ      3.1 ประสบการณ์ที่ประสบความส�าเร็จ พบว่า

            ว่า มีขั้นตอนการคัดเลือกศิษย์ที่คล้ายคลึงกัน ไม่มี  นายประเสริฐ จันทรังษี มีประสบการณ์ในการรักษา
            เกณฑ์คัดเลือกลูกศิษย์อย่างชัดเจน หากแต่พิจารณา  รวม 26 ปี เชี่ยวชาญโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก
            คัดเลือกจากการสัมภาษณ์ความมุ่งมั่นตั้งใจต่อการ  และข้อ ผิวหนัง และโรคสตรี มีจ�านวนผู้ป่วยที่มา

            ศึกษาเล่าเรียน ทั้งนี้ด้านนายประเสริฐ จันทรังษี ผู้  รักษาเฉลี่ยเดือนละ 25 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
            สมัครหมอเป่าจะต้องผ่านการทดสอบท่องคาถาตาม   ส่วนใหญ่มากจากประเทศลาวและพม่า นอกจากนี้ยัง
            ที่ได้รับมอบหมาย จึงจะรับตัวเป็นศิษย์ ก่อนศึกษาเล่า  เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ลูกศิษย์รวม 15 คน

            เรียนลูกศิษย์ทุกคนจะต้องผ่านพิธีกรรมเคารพบูชาครู  ตลอดการเป็นหมอพื้นบ้าน พึงพอใจต่อการท�าหน้าที่
            เพื่อมอบเป็นศิษย์ แตกต่างกันดังนี้          ของตนในระดับมากที่สุด ขณะที่นายวิเชียร รักสิทธิ์
                 นายประเสริฐ จันทรังษี กรณีเรียนหมอเป่า ศิษย์  มีประสบการณ์ในการรักษารวม 47 ปี เชี่ยวชาญโรค

            ต้องผ่านพิธียกขันตั้งขอเป็นศิษย์ ประกอบด้วยขันเล็ก   ทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ มะเร็ง ทางเดิน
            (ขัน 5) บรรจุดอกไม้สีขาว เทียน 5 คู่ ธูป 5 คู่ เบี้ย เงิน   หายใจ และโรคสตรี มีจ�านวนผู้ป่วยที่มารักษาเฉลี่ย

            ผลไม้และของหวานที่ถูกปักธูป และขันใหญ่ (ขัน 109)   เดือนละ 75 คน และมีแนวโน้มลงลง ส่วนใหญ่มา
            บรรจุเครื่องสักการบูชา 109 เล่ม  โดยเมื่อครูรับเป็น  จากต่างจังหวัดทั่วประเทศไทย ตลอดการเป็นหมอ
            ศิษย์แล้ว จะมอบขันหมากขันยาให้ศิษย์กลับไปวางไว้  พื้นบ้านมีลูกศิษย์ 5 คน พึงพอใจต่อการท�าหน้าที่ของ

            ที่หัวนอน และก�าหนดให้ศิษย์ไหว้ขันก่อนที่จะรักษาผู้  ตนในระดับมากที่สุด ส่วนนางนงลักษณ์ เดิมเมือง มี
            ป่วยเสมอ กรณีเรียนหมอยา ศิษย์ต้องผ่านพิธียกขัน  ประสบการณ์ในการรักษารวม 11 ปี เชี่ยวชาญโรคทาง

            ตั้งเช่นเดียวกัน สอนโดยใช้คัมภีร์ (ปั๊บหมอยาภาษา  ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ มีจ�านวนผู้ป่วยที่มา
            ล้านนา) จากบรรพบุรุษ ว่าด้วยเรื่องโรค วิธีการรักษา   รักษาเฉลี่ยเดือนละ 5 คน และมีแนวโน้มลดลง ส่วน
            และต�ารับยารักษาโรค ด้านนายวิเชียร รักสิทธิ์ ขันใน  ใหญ่เป็นคนในชุมชน ตลอดการเป็นหมอพื้นบ้านมีลูก

            พิธียกขันตั้งขอเป็นศิษย์ จะบรรจุกรวยดอกไม้ (สรวย  ศิษย์ 2 คน พึงพอใจต่อการท�าหน้าที่ของตนในระดับ
            ดอก) และเงินค่าครู 108 บาท สอนผ่านต�าราพื้นเมือง  ปานกลาง สิ่งที่ทั้ง 3 คนภูมิใจมากที่สุดคือสามารถ
            ที่สืบทอดและเขียนขึ้นมาจากประสบการณ์ ส่วนด้าน  ท�าให้ผู้ป่วยหายจากโรคภัยไข้เจ็บได้ และทั้ง 3 คน ได้

            นางนงลักษณ์ เดิมเมือง  ขันในพิธียกขันตั้งขอเป็น  ขึ้นทะเบียนเป็นหมอพื้นบ้าน ในปี พ.ศ. 2561 2561
            ศิษย์ จะบรรจุผลไม้ 9 อย่าง ธูปและเทียนอย่างละ 9   และ 2562 ตามล�าดับ
            เล่ม ดอกไม้สีขาว และเงินค่าครู 1,900 บาท โดยวิธี      3.2 การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่น ด้าน

            จัดการเรียนการสอนของครูทั้ง 3 คน เหมือนกันคือ   ตัวแบบที่มีชีวิต พบว่า นายประเสริฐ จันทรังษี และ
            ท่องจ�า สังเกต ถาม-ตอบ และฝึกปฏิบัติจนเกิดความ  นายวิเชียร รักสิทธิ์ เริ่มต้นการเป็นหมอพื้นบ้านจาก

            ช�านาญ                                      แรงจูงใจที่ส�าคัญจากบรรพบุรุษ โดยเรียนรู้จากการ

                                                        สังเกตและจดจ�าองค์ความรู้ ใช้ระยะเวลาศึกษาจาก
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196