Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 195
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 393
ตารางที่ 3 อุปสรรคและการปรับตัวในการประกอบวิชาชีพ จ�าแนกตามแพทย์พื้นบ้าน
แพทย์พื้นบ้าน อุปสรรคในการประกอบวิชาชีพ การปรับตัวในการประกอบวิชาชีพ
1. นายประเสริฐ จันทรังษี ผู้ป่วยอาศัยอยู่ห่างจากบ้านหมอ เช่น 1. ใช้โทรศัพท์ในการซักประวัติ ติดตาม
ประเทศลาว และพม่า อาการ และการนัดหมายผู้ป่วย
2. จัดส่งยาสมุนไพรผ่านทางไปรษณีย์
สมุนไพรหายากขึ้นจากป่าที่ขาดความ ใช้สมุนไพรอื่นที่มีสรรพคุณทดแทน
อุดมสมบูรณ์
2. นายวิเชียร รักสิทธิ์ การกีดกันทางการรักษาของการแพทย์ คอยแนะน�าวิธีการรับประทานยาสมุนไพร
แผนปัจจุบันที่ไม่ให้ผู้ป่วยรับประทานยา ที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย
สมุนไพรจากหมอพื้นบ้าน
สมุนไพรหายากจากป่าที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ใช้โทรศัพท์ติดต่อซื้อขาย แลกเปลี่ยนสมุนไพร
ระหว่างหมอพื้นบ้านที่อยู่ในต่างจังหวัด
ผู้ป่วยมีแนวโน้มลดลงจากการหายของโรคเอง 1. แนะน�าให้ผู้ป่วยสื่อสารบอกต่อ ๆ กัน
และการสื่อสารช่องทางเดียว 2. เพิ่มช่องทางการจัดส่งยาสมุนไพรผ่าน
ไปรษณีย์
จ�านวนลูกศิษย์ลดลงเนื่องจากการเรียนต้อง 1. สอนประสบการณ์ความส�าเร็จในการเรียน
ใช้มานะและความพยายามสูง ของตนเป็นแบบอย่างแก่ลูกศิษย์
2. ให้แรงเสริมด้านจิตใจแก่ลูกศิษย์
3. นางนงลักษณ์ เดินเมือง ผู้ป่วยมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากผู้ป่วยไปรักษา 1. หาอาชีพอื่นทดแทน
กับแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลด้วย 2. ใช้โทรศัพท์ในการนัดรักษาผู้ป่วย
สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เศรษฐกิจซบเซา หาอาชีพอื่น ทดแทน
อภิปรำยผล 1. การรับรู้ความสามารถของตนเอง หมอพื้น
การด�ารงอยู่ของหมอพื้นบ้าน จากทฤษฎีปัญญา บ้านมีบทบาทหน้าที่ส�าคัญอยู่ 2 ประการ คือ การท�า
สังคมที่เชื่อว่าการด�ารงอยู่ของพฤติกรรมหรือการ เวชปฏิบัติรักษาผู้ป่วย และการถ่ายทอดองค์ความรู้
ท�างานใด ๆ ล้วนมีผลมาจากการรับรู้ความสามารถ ในฐานนะครูแพทย์พื้นบ้าน ทุกคนมีประสบการณ์ใน
ของตนเอง และความคาดหวังในผลที่จะเกิดหลังจาก วิชาชีพยาวนาน 10–40 ปี มีความพึงพอใจต่อการท�า
การกระท�าพฤติกรรมหรือท�างาน และตามทฤษฎี หน้าที่ของตนเองในระดับปานกลางถึงมากที่สุด และที่
[5]
ปัญญาสังคมทางอาชีพ นอกจากการรับรู้ความ ส�าคัญทุกคนรับรู้ความสามารถในการรักษาผู้ป่วยของ
[6]
สามารถของตนเองและความคาดหวังในผลลัพธ์แล้ว ตนเองเป็นอย่างดี อันแสดงถึงประสบการณ์ที่ประสบ
บุคคลจะต้องรับรู้อุปสรรคด้วย จึงสามารถด�ารงการ ความส�าเร็จ (mastery experience) สอดคล้อง
ท�างานของตนได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการด�ารงอยู่ ทฤษฎีปัญญาสังคม ที่เชื่อว่า ประสบการณ์ที่ประสบ
[5]
[6]
ของหมอพื้นบ้าน สามารถอภิปรายผลการศึกษาผ่าน ความส�าเร็จ เป็นส่วนหนึ่งที่สร้างการรับรู้ความสามารถ
แนวคิดทฤษฎีได้ ดังนี้ ของตนเองได้เป็นอย่างดี จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรม