Page 196 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 196

394 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           หรือการท�างานนั้น ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การ  ที่พบว่าที่รายได้จากการประกอบอาชีพต่าง ๆ มีผล
           สืบทอดองค์ความรู้จากตระกูลและครูบาอาจารย์ผ่าน  ต่อความตั้งใจคงอยู่ในงานระยะยาว อาจเป็นเพราะ

           กระบวนการสังเกต การจดจ�า และการฝึกปฏิบัติ ส่ง  วิชาชีพแพทย์เป็นวิชาชีพที่มีจรรยาบรรณ และ
           ผลให้หมอพื้นบ้านเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ เช่น การ  อุดมการณ์ท�าเพื่อผู้อื่น อีกทั้งหมอพื้นบ้านเป็นส่วน
           ประพฤติปฏิบัติตามค�าสอน ท่าที บุคลิกภาพ ซึ่งถือว่า  หนึ่งของชุมชน ใช้ทรัพยากรในชุมชน จึงท�าให้เรียก

           เป็นการสังเกตพฤติกรรมและการท�างานจากตัวแบบมี  เก็บค่ารักษาน้อย บางคนค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับความ
           ชีวิต (live model) และยังตั้งมั่นในคติความเชื่อตาม  เต็มใจของผู้ป่วย รวมถึงบางคนก�าหนดค่ายาทุกโรคไว้
           ตัวแบบเชิงสัญลักษณ์ (symbolic model) เช่น การ  ราคาเดียวอีกด้วย ดังนั้นความคาดหวังในผลลัพธ์ของ

           รักษาศีล 5 มุ่งรักษาโรคภัยทั้งทางร่างกายและจิตใจ   การศึกษานี้จึงเกี่ยวข้องกับความภาคภูมิใจที่ผู้ป่วย
           ตามบูรพาจารย์ หมอชีวกโกมารภัจจ์ และพระพุทธเจ้า   มีสุขภาพดีเป็นหลัก สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี
                                                                                            [6]
                                                                 [5]
                                                [7]
           สอดคล้องกับแนวคิดของแบนดูรา (Bandura)  ที่  ปัญญาสังคม  และทฤษฎีปัญญาสังคมทางอาชีพ  ที่
           พบว่าการเรียนรู้จากตัวแบบส่งผลให้เกิดการรับรู้  เชื่อว่าการความคาดหวังในผลลัพธ์ที่มากพอ จะท�าการ
           ความสามารถของตนเองได้เป็นอย่างดีเช่นกัน อีก  ด�ารงอยู่ของพฤติกรรมและการท�างานคงอยู่

           ปัจจัยหนึ่งที่เสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง      3. อุปสรรคและการปรับตัว หมอพื้นบ้านที่ด�ารง
           ได้ คือ การได้รับค�าพูดชักจูงและการกระตุ้นอารมณ์   อยู่ได้อย่างยั่งยืน จะต้องมีผู้สืบทอดองค์ความรู้ แต่
           (verbal persuasion and emotional arousal) ซึ่ง  จากผลการศึกษาพบว่า จ�านวนลูกศิษย์ลดลงไปเรื่อย ๆ

           หมอทั้ง 3 คน ได้รับการกล่าวชื่นชมจากผู้ป่วยและ  อาจเป็นเพราะการเรียนรู้ต้องใช้ความมุ่งมั่น ความ
           ญาติอยู่เสมอ ๆ ในฐานะหมอพื้นบ้าน อีกทั้งได้รับ  ตั้งใจ และความพยายามอย่างสูง เนื่องจากผู้เรียน

           การยอมรับจากสังคมในฐานะผู้น�าทางสังคมในด้าน  จะต้องใช้ระยะเวลานานในการศึกษาตั้งแต่ 1–15 ปี
           ต่าง ๆ โดยภาพรวมแล้วหมอพื้นบ้านมีการรับรู้ความ  อีกทั้งสื่อและวิธีการสอนยังใช้วิธีการท่องจ�า และการ
           สามารถของตนเองเป็นอย่างดี สอดคล้องกับแนวคิด  สังเกตเป็นหลัก หากผู้เรียนมีความมุ่งมั่น ความตั้งใจ

                               [7]
           ของแบนดูรา (Bandura)  ที่เชื่อว่า พฤติกรรมหรือ  และความพยายามน้อย ก็อาจท�าให้ไม่มีผู้สืบทอดองค์
           การท�างานจะเกิดอย่างต่อเนื่องแม้อยู่ในสถานการณ์  ความรู้ต่อไปได้
           ที่เคร่งเครียด สัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถของ      บุคคลที่เกี่ยวข้องกับหมอพื้นมากที่สุด คือ

           ตนเอง ที่เกิดจากประสบการณ์ที่ประสบความส�าเร็จ  ผู้ป่วย ซึ่งนับวันผู้ป่วยที่มารับการรักษามีก็มีจ�านวน
           การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่น และการใช้ค�าพูด  ลดลงเช่นกัน อาจเป็นเพราะการพัฒนาด้านเทคโนโลยี
           ชักจูงและการกระตุ้นอารมณ์                   การสื่อสารที่ก้าวกระโดด ด้านการสาธารณสุข และ

                2. ความคาดหวังในผลลัพธ์ ความคาดหวังใน  ด้านเศรษฐกิจ กล่าวคือ ประชาชนสามารถรับข้อมูล
           ผลของการประกอบวิชาชีพของทั้ง 3 คน คือ ความ  ข่าวสารและความรู้ต่าง ๆ ด้านการดูแลสุขภาพได้ด้วย

           ภาคภูมิใจที่เห็นผู้ป่วยและญาติมีสุขภาพกายใจที่ดี   ตนเองจึงให้ท�าให้เห็นทางเลือกได้มากขึ้น เช่น รักษา
           ส่วนรายได้จากการประกอบวิชาชีพไม่ใช่ผลที่คาดหวัง   ด้วยตนเอง รักษาด้วยแพทย์แผนไทย และแพทย์แผน
           แตกต่างจากการศึกษาของจุไรวรรณ บินดุเหลม [8]   ปัจจุบัน สอดคล้องกับงานวิจัยของวิชาญ ปาวัน และ
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201