Page 188 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 188
386 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
การได้รับการสนับสนุนจากสังคมแล้ว ยังสัมพันธ์กับ ที่เกี่ยวข้องกับหมอพื้นบ้าน งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษา
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านนี้ด้วย คือ หมอพื้นบ้าน ซึ่งถือ การด�ารงอยู่ของของหมอพื้นบ้าน ผ่านการประยุกต์
เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถด้านการแพทย์ ใช้ทฤษฎีปัญญาสังคม และทฤษฎีปัญญาสังคมทาง
[4]
พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพทุกมิติของคนในท้องถิ่น อาชีพในการก�าหนดกรอบปัจจัย เพื่อช่วยอธิบายการ
แม้ว่าหมอพื้นบ้านยังคงมีบทบาทในการดูแลสุขภาพ ด�ารงอยู่ของการประกอบวิชาชีพหมอพื้นบ้านในมิติ
คนในชุมชนอยู่ แต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ ด้านพฤติกรรมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อน�าข้อมูลไปใช้
วัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป อาจท�าให้การด�ารงอยู่ของหมอ ประโยชน์ในการวางแผนการส่งเสริมให้หมอพื้นบ้าน
พื้นบ้านเปลี่ยนแปลงไปด้วย ยังด�ารงคู่สังคมไทย ในแง่ของการด�ารงอยู่ของหมอ
จากการทบทวนวรรณกรรม พบการศึกษาปัจจัย พื้นบ้านนั้นเกิดจากปัจจัยด้านพฤติกรรม
ที่สัมพันธ์กับการด�ารงอยู่ของหมอพื้นบ้านอยู่บ้าง แต่
ยังไม่ครอบคลุมมิติด้านพฤติกรรม หมอพื้นบ้านที่ยัง ระเบียบวิธีศึกษำ
คงประกอบวิชาชีพหรือท�างานอย่างต่อเนื่องในระยะ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative
ยาวอาจสัมพันธ์กับปัจจัยอื่น ๆ โดยเฉพาะปัจจัยระดับ research) ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบ่งเป็น
บุคคลของหมอพื้นบ้านเอง ซึ่งแนวคิดนี้มาจากทฤษฎี 5 ด้าน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการประกอบ
ปัญญาสังคม (social cognitive theory) ของแบน วิชาชีพการแพทย์พื้นบ้าน การรับรู้ความสามารถของ
[5]
ดูรา (Bandura) ที่พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ อุปสรรคและการ
และมีผลต่อการตัดสินใจกระท�าพฤติกรรมใด ๆ ของ ปรับตัว ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจาก
บุคคล ขึ้นอยู่กับการรับรู้ความสามารถของตนเอง ที่ ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญจ�านวน 3 คน งานวิจัยนี้คัด
ใช้ตัดสินว่าตนสามารถท�างานได้ในระดับใด และความ เลือกหมอพื้นบ้านที่ขึ้นทะเบียนกับสาธารณสุขจังหวัด
คาดหวังผลที่จะเกิดหลังจากการท�างาน เช่น การได้รับ เชียงราย จ�านวน 82 คน ในจ�านวนดังกล่าวเป็นผู้
การยอมรับจากสังคม การได้รางวัล ความพึงพอใจ สมัครใจ ยินดี และสะดวกที่จะเปิดเผยข้อมูล จึงได้
ของตนเอง ภายหลังเลนท์และบราวน์ (Lent&Brown) หมอพื้นบ้านจ�านวน 3 คน ได้แก่ พ่อหมอประเสริฐ
[6] ได้พัฒนาทฤษฎีนี้ไปสู่ทฤษฎีปัญญาสังคมทางอาชีพ จันทรังษี พ่อหมอวิเชียร รักสิทธิ์ และแม่หมอนงลักษณ์
(social cognitive career theory) เพื่อให้เกิดความ เดิมเมือง ด�าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการ
เข้าใจในผลลัพธ์ของการท�างานหรือการประกอบอาชีพ สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) และขอ
ที่ก�าหนดมาจากปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล อนุญาตท�าการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย
บริบทของภูมิหลัง ประสบการณ์การเรียนรู้หรือผล ในมนุษย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (รหัสโครงการ EC
งานในอดีต การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความ 19331-26) และได้รับการรับรองยกเว้นการพิจารณา
คาดหวังในผลลัพธ์ และการสนับสนุนจากสังคมและ ด้านจริยธรรมการวิจัย (COE: 006/2020) ลงวันที่
อุปสรรค ดังนั้นการส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้านให้คง 8 มกราคม 2563
อยู่ยั่งยืน จึงจ�าเป็นต้องเข้าใจสถานการณ์และปัจจัย