Page 111 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 111

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  309




            อาการปวดศีรษะไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัย  อาการนอนไม่หลับ ซึ่งเป็นกลุ่มอาการที่ต้องใช้ระยะ
            ส�าคัญระหว่างก่อนและหลังการรักษา อาจเนื่องมา  เวลาในการรักษาต่อเนื่อง แพทย์แผนไทยผู้สั่งใช้จะ

            จากกลุ่มผู้ป่วยที่รับยาด้วยข้อบ่งใช้ดังกล่าวมีจ�านวน  เริ่มให้ยาในขนาดต�่าก่อนแล้วจึงปรับขนาดยาเพิ่มขึ้น
            น้อย เนื่องจากการศึกษานี้เป็นการศึกษาโดยเก็บ  ตามการตอบสนอง ท�าให้ผู้ป่วยบางส่วนอาจมีความ
            ข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วย จึงอาจท�าให้  รู้สึกว่าใช้ยาแล้วไม่ได้ผล โดยผู้ป่วยที่เคยใช้กัญชามา

            ข้อมูลบางส่วนขาดหายไปและไม่สามารถควบคุม     ก่อนอาจมีแนวโน้มในการรับรู้และมีความเชื่อมั่นใน
            ตัวแปรอื่นที่อาจมีผลต่อผลลัพธ์ของการศึกษาได้ โดย  การใช้กัญชาเพื่อการรักษามากกว่า ท�าให้มีการใช้ยา
            เฉพาะข้อมูลคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในเดือนที่ 3 ของ  อย่างต่อเนื่องสม�่าเสมอ จึงมีการยุติการรักษาเนื่องจาก

            การรักษา เนื่องจากผู้ป่วยบางส่วนมีการยุติการรักษา  อาการไม่ดีขึ้นน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่เคยมีประวัติการใช้
            หรือไม่ได้มาติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยจึง  กัญชา ส่วนการยุติการรักษาเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่
            ได้พยายามที่จะลดข้อจ�ากัดดังกล่าวโดยการใช้เลือก  พึงประสงค์ ไม่พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัย

            ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติที่มีความเหมาะสม นอกจากนี้  ส�าคัญทางสถิติ หลังจากการยุติการรักษาด้วยต�ารับ
            ข้อมูลด้านคุณภาพการนอนหลับมีข้อมูลที่ไม่เพียงพอ  ยาศุขไสยาศน์ แพทย์แผนไทยผู้ท�าการตรวจรักษาอาจ

            และมีข้อบ่งใช้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการนอนหลับร่วม  มีการพิจารณาสั่งจ่ายยาน�้ามันกัญชาต�ารับหมอเดชา
            ด้วย ท�าให้ไม่ได้เก็บข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการศึกษา   หรือต�ารับยาแผนไทยชนิดอื่นในการรักษาผู้ป่วยต่อไป
            ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาแบบไปข้างหน้าแบบสุ่มและ

            มีกลุ่มควบคุม (randomized controlled trial) โดย             ข้อสรุป
            เก็บข้อมูลตัวแปรด้านประสิทธิผลที่มีความเจาะจง     ต�ารับยาศุขไสยาศน์ มีรูปแบบการสั่งใช้ในขนาด

            กับประสิทธิผลของต�ารับยาตามข้อบ่งใช้ เพื่อยืนยัน  ยาเริ่มต้น 0.5-2.0 กรัมต่อวัน ขนาดพยุงในการรักษา
            ประสิทธิผลและความปลอดภัยของต�ารับยาและเก็บ  อยู่ในช่วง 1.0-2.0 กรัมต่อวัน ด้วยสรรพคุณที่ช่วย
            ข้อมูลในผู้ป่วยจ�านวนมากขึ้นต่อไป           รักษาอาการนอนไม่หลับและเบื่ออาหาร การใช้ต�ารับ

                 การยุติการรักษาในการศึกษานี้ เป็นการพิจารณา   ยาศุขไสยาศน์ต่อเนื่อง 1-3 เดือนมีโอกาสที่จะช่วย
            และตกลงร่วมกันระหว่างแพทย์แผนไทยผู้ท�าการ   เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ แม้จะพบเหตุการณ์
            ตรวจรักษาและผู้ป่วย โดยแบ่งเป็นการยุติการ   ไม่พึงประสงค์จากยาแต่เป็นเหตุการณ์ที่ไม่รุนแรง

            รักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้น และการยุติการรักษา  ได้แก่ อาการระคายเคืองทางเดินอาหาร วิงเวียนหรือ
            เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เมื่อท�าการ  ปวดศีรษะ ปากแห้งคอแห้ง แผลร้อนใน ผื่นแดงจุด
            วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยุติการรักษา   เล็ก และอาการร้อนวูบวาบ ในการสั่งใช้ยาจึงจ�าเป็น

            พบว่าผู้ป่วยกลุ่มที่เคยมีประวัติการใช้กัญชามาก่อน  ต้องอธิบายข้อควรระวังและอาการไม่พึงประสงค์ที่
            มีโอกาสที่จะยุติการรักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้น  อาจเกิดขึ้นให้กับผู้ป่วยทุกราย สามารถพิจารณาการ

            น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่เคยมีประวัติการใช้กัญชาอย่างมี  ใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์เป็นการรักษาทางเลือกในการ
            นัยส�าคัญทางสถิติ อาจเนื่องมาจากในการศึกษานี้   รักษาอาการนอนไม่หลับให้กับผู้ป่วยได้ โดยการน�า
            ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับต�ารับยาศุขไสยาศน์เพื่อบรรเทา  ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการก�าหนดแนวทางและ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116