Page 77 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 77
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 57
สรุปรายงานการประชุมไว้ทุกครั้ง โดยการปฏิบัติงาน ปีพุทธศักราช 2557-2563 จ�านวน 12 สาขา พบว่า
จริงตามแผนปฏิบัติงาน แล้วให้บันทึกข้อมูลกิจกรรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย
การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุม ได้รับการคัดเลือกเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า
โรค การฟื้นฟูสุขภาพ การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน หมู่บ้านดีเด่นระดับชาติ จ�านวน 3 คน อาสาสมัคร
สุขภาพ การจัดการสุขภาพชุมชนและการมีส่วนร่วม สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดีเด่นระดับภาค จ�านวน
ในแผนสุขภาพต�าบล และอื่น ๆ ตามสภาพปัญหา 5 คน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดี
สุขภาพของชุมชน เมื่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า เด่นเขตสุขภาพ จ�านวน 22 คน อย่างไรก็ตาม สาขา
หมู่บ้านได้ปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวจึงจะมี ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพยังไม่เคยได้รับการคัด
สิทธิได้รับค่าป่วยการอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า เลือกเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดีเด่น
หมู่บ้านเป็นรายเดือนในอัตราหนึ่งพันบาทต่อคน การ ระดับเขตสุขภาพ ภาค และชาติ ดังนั้น ส�านักงาน
[2]
[5]
ปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่ง สาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย โดยกลุ่มงานการแพทย์
ในบทบาทที่ส�าคัญของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้ส�ารวจการ
หมู่บ้าน จ�านวน 23 ลักษณะงาน ให้อาสาสมัคร ปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร
[3]
สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านปฏิบัติงานส่งเสริม สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย พบว่า
ชุมชนในการฟื้นฟู สืบสาน และใช้ประโยชน์จาก อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพในชุมชน รวมทั้งการ เพศหญิง ร้อยละ 87.8 อายุเฉลี่ย 50 ปี รายได้เฉลี่ย
ประยุกต์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ต่อเดือน 5,711.69 บาท สถานภาพสมรส ร้อยละ 73.0
ให้สอดคล้องกับบริบททางด้านสังคม เศรษฐกิจและ ระดับการศึกษา ประถมศึกษา ร้อยละ 35.8 ประกอบ
วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งเสริม และสนับสนุน อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 60.7 จ�านวนหลังคาเรือน
ให้ชุมชนมีบทบาทในการจัดการระบบสุขภาพของ ที่รับผิดชอบ 10-12 หลังคาเรือน ระยะเวลาการเป็น
ชุมชนด้วยตนเอง และส่งเสริมบทบาทชุมชนในการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านเฉลี่ย 14 ปี ไม่
สนับสนุนเสริมสร้างสถานภาพและใช้ประโยชน์จาก ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
หมอพื้นบ้านในชุมชน ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุข สุขภาพ ร้อยละ 78.6 คุณสมบัติเฉพาะสาขาภูมิปัญญา
[4]
ประจ�าหมู่บ้านที่สามารถปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น ท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า
ด้านสุขภาพได้โดดเด่นจนเป็นที่ประจักษ์สามารถ หมู่บ้านส่วนใหญ่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้อง-
น�าผลการด�าเนินงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ถิ่นด้านสุขภาพจากบรรพบุรุษ ร้อยละ 42.6 รองลง
เข้ารับการคัดเลือกและประเมินผลงานอาสาสมัคร มาได้รับการถ่ายทอดจากครู/อาจารย์ ร้อยละ 33.1
สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดีเด่น สาขาภูมิปัญญา และไม่ได้รับการถ่ายทอด ร้อยละ 16.5 การจัดการ
ท้องถิ่นด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางและหลัก สุขภาพโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ร้อยละ
เกณฑ์การคัดเลือกและประเมินผลงานอาสาสมัคร 63.7 ไม่ได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ร้อยละ
สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดีเด่น จากผลการคัดเลือก 36.3 และในพื้นที่ส่วนใหญ่มีสมุนไพร/สมุนไพร
[4]
อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านดีเด่น ประจ�า ท้องถิ่น ร้อยละ 93.5 มีการนวด/นวดพื้นบ้าน ร้อยละ