Page 73 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 73
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 53
ไม่พึงประสงค์อื่น ๆ ได้แก่ ร้อนวูบวาบ วิงเวียนหรือ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่มีความชัดเจน
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้งคอแห้ง ท้อง
ผูก แผลร้อนใน ผื่นแดงจุดเล็ก กล้ามเนื้อขากระตุก ข้อจ�ำกัดของกำรศึกษำ
ริดสีดวงก�าเริบและนอนไม่หลับซึ่งสอดคล้องกับงาน เนื่องจากการศึกษานี้เป็นการศึกษาโดยเก็บ
วิจัยก่อนหน้าที่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่ไม่รุนแรง ข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยในคลินิกกัญชา
ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ปากแห้งและนอน ทางการแพทย์จึงไม่สามารถควบคุมตัวแปรอื่นที่อาจ
ไม่หลับเช่นเดียวกัน ส่วนอาการระคายเคืองทาง ส่งผลต่อผลลัพธ์ของการศึกษาได้ ข้อมูลบางส่วนมี
[7]
เดินอาหารที่เป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่พบมาก อาจ การขาดหายไปโดยเฉพาะข้อมูลคุณภาพชีวิตที่ท�าการ
เนื่องมาจากต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุมีส่วนผสมของ รวบรวมข้อมูลในเดือนที่ 0, 1 และ 3 ในการรักษา
พริกไทยจ�านวนมากกว่าร้อยละ 64.7 จึงควรน�าข้อมูล เนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้มาตามนัดจากข้อจ�ากัดหลาย
ดังกล่าวเพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการสั่งจ่ายยาต่อไป ประการ เช่น สภาวะของโรคที่ผู้ป่วยเป็นมีความยาก
ล�าบากในการเดินทาง, ความพร้อมของญาติในการพา
ข้อสรุป ผู้ป่วยมารับการรักษา, สถานการณ์โรคระบาด และ
ต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุ มีรูปแบบการสั่งใช้ บางกลุ่มอาการอาจหายก่อนระยะเวลา 3 เดือน ท�าให้
ในขนาดเริ่มต้น 0.5-2.0 กรัมต่อวัน ขนาดยาคงที่ ข้อมูลบางส่วนขาดหายไป ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพของ
2 กรัมต่อวันและอาจเพิ่มขนาดได้ถึง 4 กรัมต่อวัน การประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในการศึกษานี้
ด้วยสรรพคุณที่ช่วยแก้ลมจุกเสียด บรรเทาอาการ
ปวดแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อและลดอาการชาจึงมักมี กิตติกรรมประกำศ
การสั่งใช้ในอาการปวดกล้ามเนื้อ โรคอัมพฤกษ์ หรือ การศึกษาครั้งนี้ส�าเร็จลงได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับ
อัมพาต อาการชา อาการนอนไม่หลับ โรคข้อเข่าเสื่อม ความอนุเคราะห์ข้อมูลจากโรงพยาบาลการแพทย์แผน
และโรคพาร์กินสัน การใช้ต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุต่อ ไทยและการแพทย์ผสมผสานที่อนุญาตให้น�าข้อมูลมา
เนื่อง 1-3 เดือนมีโอกาสที่จะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของ ใช้ในการศึกษา และอาจารย์เภสัชกรกฤษฎาดนุเดช
ผู้ป่วยได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติในกลุ่มผู้ป่วยโรค วงศ์เวชวิวัฒน์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ที่
อัมพฤกษ์หรืออัมพาต โรคข้อเข่าเสื่อม โรคพาร์กินสัน ให้ความอนุเคราะห์ความรู้ด้านสถิติและการวิเคราะห์
และกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ แม้จะพบเหตุการณ์ไม่ ข้อมูล
พึงประสงค์จากยาแต่เป็นเหตุการณ์ที่ไม่รุนแรง ต�ารับ
ท�าลายพระสุเมรุสามารถพิจารณาเป็นการรักษาทาง References
เลือกให้กับผู้ป่วยได้โดยการน�าข้อมูลจากการศึกษา 1. ElSohly MA, Slade D. Chemical constituents of mari-
juana: the complex mixture of natural cannabinoids.
นี้ไปใช้ในการก�าหนดแนวทางและข้อควรระวังใน Life Sci. 2005;78(5):539-48.
การใช้ยา อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องการศึกษาเพิ่มเติม 2. Department of medical services. Guidance on cannabis
ในผู้ป่วยจ�านวนมากขึ้นและเก็บข้อมูลผลลัพธ์ด้าน for medical use. Nonthaburi: Ministry of Public Health;
2020. (in Thai)
ประสิทธิผลของต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุในแต่ละโรค 3. Whiting PF, Wolff RF, Deshpande S, Nisio MD, Duffy S,