Page 78 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 78
58 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
73.6 มีการดูแลมารดาหลังคลอด ร้อยละ 50.5 และ ทางเลือกให้ลงสู่ระดับหมู่บ้านหรือชุมชน [4]
ไม่มีการใช้พิธีกรรมในการรักษา ร้อยละ 62.7 เมื่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ
พิจารณาในส่วนการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น เปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงาน
ด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพจากการใช้โปรแกรมฝึก
จังหวัดสุโขทัย พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า อบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพใน
หมู่บ้านปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพอยู่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย
ในระดับต�่า หรือปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
สุขภาพจ�านวน 1-2 ครั้งต่อเดือน ร้อยละ 91.2 ซึ่ง ระเบียบวิธีศึกษำ
[6]
ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�าหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-
เดือน จากความส�าคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น experimental research) ชนิดศึกษาสองกลุ่ม วัด
[2]
การศึกษานี้จึงพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติ ก่อนและหลังการทดลอง (the two group, pretest-
งานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร posttest design) ได้รับการรับรองจริยธรรมการ
สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านเพื่อใช้เป็นโปรแกรมฝึก วิจัยในมนุษย์จากคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยใน
อบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ มนุษย์ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย โครงการ
ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน นอกจาก เลขที่ COA No. 27/2021 เอกสารรับรองเลขที่่ IRB
การฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานภูมิปัญญา No. 30/2021 วิธีทบทวนแบบเร่งด่วน (expedited
ท้องถิ่นด้านสุขภาพที่ประกอบด้วยด้านสมุนไพร ด้าน review)
การนวด และด้านการดูแลมารดาและทารก โปรแกรม
ฝึกอบรมยังมีหัวข้อความส�าคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. วัสดุ
ด้านสุขภาพที่กล่าวถึงการพึ่งพาตนเองโดยการใช้ 1.1 ประชากร คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า
องค์ความรู้เบื้องต้นด้านภูมิปัญญาและการแพทย์ หมู่บ้าน ต�าบลไกรใน อ�าเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
แผนไทยและหัวข้อบทบาทการปฏิบัติงานภูมิปัญญา จ�านวน 189 คน [7]
ท้องถิ่นด้านสุขภาพที่มุ่งให้อาสาสมัครสาธารณสุข 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจ�าหมู่บ้านทราบถึงบทบาทหน้าที่ตั้งแต่การ ประจ�าหมู่บ้าน ซึ่งได้จากการค�านวณขนาดตัวอย่าง
ประยุกต์ใช้ความรู้กับตนเองและครอบครัวเพื่อเป็น ส�าหรับการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยในการ
แบบอย่าง และการแนะน�าถ่ายทอดให้กับประชาชน วิจัยเชิงทดลอง ชนิดกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้ขนาด
[8]
อีกทั้งการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น หมอพื้นบ้าน ตัวอย่างกลุ่มละ 38 คน
ต�ารับยาสมุนไพร แหล่งสมุนไพรในหลังคาเรือนที่
รับผิดชอบ เพื่อน�ามาเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนางาน
ของหน่วยงานภาครัฐ จึงถือว่าเป็นบทบาทส�าคัญของ 1.3 การสุ่มตัวอย่างคือ การคัดเลือกกลุ่ม
อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านในการขับเคลื่อน ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sam-
และพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ pling) โดยออกแบ่งเป็นกลุ่มทดลองคือ อาสาสมัคร