Page 81 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 81
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 61
ขอความร่วมมือในการด�าเนินกิจกรรมและการเก็บ แตกต่างของคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่ม ก่อนและหลัง
รวบรวมข้อมูลและเตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ การทดลองด้วยสถิติ Paired Sample’s t-test และ
ที่จ�าเป็นในการเก็บรวบรวมข้อมูล เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยระหว่าง
2.2 ขั้นด�าเนินการ มีการอธิบายวัตถุประสงค์ กลุ่ม ก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ Indepen-
ของการศึกษา ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล สิทธิ dent Sample’s t-test
ของกลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามหรือ
ปฏิเสธการเข้าร่วม การปกปิดรายชื่อและข้อมูลที่ ผลกำรศึกษำ
ได้จากแบบสอบถามโดยไม่มีการระบุชื่อของกลุ่ม 1. ข้อมูลคุณลักษณะทำงประชำกร
ตัวอย่างลงในแบบสอบถาม ข้อมูลที่ได้สอบถามกลุ่ม กลุ่มทดลองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 84.2
ทดลองจะเก็บเป็นความลับและไม่น�ามาเปิดเผย การ มีอายุ < 60 ปี ร้อยละ 84.2 มีสถานภาพคู่ ร้อยละ 71.1
ศึกษาครั้งนี้จะไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง มีระดับการศึกษาประถมศึกษา ร้อยละ 50.0 ประกอบ
แบบสอบถามและข้อมูลจะเก็บไว้เฉพาะที่ผู้วิจัย อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 81.6 มีรายได้เฉลี่ยต่อ
เท่านั้น ข้อมูลนี้จะถูกท�าลายหลังจากมีการวิเคราะห์ เดือน < 5,000 บาท ร้อยละ 81.6 มีระยะเวลาในการ
ข้อมูลและเขียนรายงานหลังการศึกษาเสร็จสิ้นภายใน เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน 11-20 ปี
1 ปี เพื่อน�าเสนอในภาพรวม จะไม่ระบุหรืออ้างอิงกลุ่ม ร้อยละ 50.0 มีจ�านวนหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ ≥ 10
ตัวอย่างหากไม่ได้รับอนุญาต เก็บรวบรวมข้อมูล ครั้ง หลังคาเรือน ร้อยละ 55.3 และไม่ได้รับการฝึกอบรม
ที่ 1 ก่อนการทดลองทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ร้อยละ 52.6
ด้วยแบบสอบถาม จัดกิจกรรมฝึกอบรมการปฏิบัติ กลุ่มควบคุมส่วนใหญ่เพศหญิง ร้อยละ 86.8
งานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพของอาสาสมัคร มีอายุ < 60 ปี ร้อยละ 94.7 มีสถานภาพคู่ ร้อยละ 81.6
สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านในกลุ่มทดลอง โดยใช้ระยะ มีระดับการศึกษามัธยมศึกษา ร้อยละ 52.6 ประกอบ
เวลาฝึกอบรมภาคทฤษฎี จ�านวน 1 วัน (7 ชั่วโมง) และ อาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 89.5 มีรายได้เฉลี่ยต่อ
เก็บรวบรวมข้อมูล ครั้งที่ 2 หลังการทดลองทั้งกลุ่ม เดือน < 5,000 บาท ร้อยละ 65.8 มีระยะเวลาในการ
ทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยแบบสอบถามที่ใช้ใน เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน 11-20 ปี
การเก็บรวบรวมข้อมูล ครั้งที่ 1 ภายหลังจัดกิจกรรม ร้อยละ 50.0 มีจ�านวนหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ ≥ 10
ฝึกอบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ หลังคาเรือน ร้อยละ 60.5 และไม่ได้รับการฝึกอบรม
ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านไปแล้ว 4 เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ร้อยละ 63.2
สัปดาห์ โดยจัดให้กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคุณลักษณะ
2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล มีการวิเคราะห์ข้อมูล ทางประชากรเหมือนกันหรือให้คล้ายคลึงกันมากที่สุด
คุณลักษณะทางประชากรด้วยสถิติการแจกแจง พบว่า ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีเพศ อายุ
ความถี่และร้อยละ วิเคราะห์ความแตกต่างของข้อมูล สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ย
คุณลักษณะทางประชากรด้วยสถิติ Chi-squared ต่อเดือน จ�านวนหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ ระยะเวลา
test และ Fisher’s Exact test เปรียบเทียบความ ในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน และ