Page 82 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 82
62 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
การฝึกอบรมเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ
ไม่แตกต่างกัน ดังนั้น จึงสรุปได้ว่ากลุ่มทดลองและ และการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ของ
กลุ่มควบคุมมีความคล้ายคลึงกัน (ตารางที่ 1) กลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังจัดโปรแกรมฝึก
2. การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ อบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ
ทัศนคติ และการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน ในอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน พบว่า หลัง
สุขภาพของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและ จัดโปรแกรมฝึกอบรมฯ กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ย
หลังจัดโปรแกรมฝึกอบรมการปฏิบัติงานภูมิปัญญา ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
ท้องถิ่นด้านสุขภาพในอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�า ด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนจัดโปรแกรม อย่างมีนัยส�าคัญ
หมู่บ้าน ทางสถิติที่ระดับ 0.05
ตารางที่ 1 จำ�นวนและร้อยละของกลุ่มทดลอง (n = 38) และกลุ่มควบคุม (n = 38) จำ�แนกต�มข้อมูลคุณลักษณะ
ท�งประช�กร
2
ข้อมูลคุณลักษณะทางประชากร จำานวน (ร้อยละ) χ df p-value
กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
เพศ ช�ย 6 (15.8) 5 (13.2) 0.106 1 0.744
หญิง 32 (84.2) 33 (86.8)
อ�ยุ < 60 ปี 32 (84.2) 36 (94.7) 2.235 1 0.135*
≥ 60 ปี 6 (15.8) 2 (5.3)
สถ�นภ�พ โสด/ม่�ย/หย่� 11 (28.9) 7 (18.4) 1.165 1 0.280
คู่ 27 (71.1) 31 (81.6)
ระดับก�รศึกษ� ประถมศึกษ� 19 (50.0) 16 (42.1) 3.619 2 0.154*
มัธยมศึกษ� 13 (34.2) 20 (52.6)
อนุปริญญ�หรือสูงกว่� 6 (15.8) 2 (5.3)
อ�ชีพ เกษตรกรรม 31 (81.6) 34 (89.5) 0.957 1 0.328
ค้�ข�ย/ธุรกิจส่วนตัว 7 (18.4) 4 (10.5)
ร�ยได้เฉลี่ยต่อเดือน < 5,000 บ�ท 31 (81.6) 25 (65.8) 2.443 1 0.118
≥ 5,000 บ�ท 7 (18.4) 13 (34.2)
ระยะเวล�ในก�รเป็น อสม. 1–10 ปี 14 (36.8) 15 (39.5) 0.212 2 0.930*
11–20 ปี 19 (50.0) 19 (50.0)
21–30 ปี 5 (13.2) 4 (10.5)
จำ�นวนหลังค�เรือนที่รับผิดชอบ < 10 หลังค�เรือน 17 (44.7) 15 (39.5) 0.216 1 0.642
≥ 10 หลังค�เรือน 21 (55.3) 23 (60.5)
ก�รฝึกอบรม ไม่ได้รับ 20 (52.6) 24 (63.2) 0.864 1 0.353
ได้รับ 18 (47.4) 14 (36.8)
* Fisher’s exact test