Page 169 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 169
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 715
ในยุคนี้ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาการแพทย์ของจีน การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542’’ ปัจจุบันได้รับ
ได้แก่ ในปี ค.ศ. 1371-1435 ขันทีเจิ้งเหอ (Zheng การรับรองจากองค์การอนามัยโลก (World Health
He) หรือ ซันเป่ากง (San Bao Gong) ได้ออกเดิน Organization: WHO) และมีการวิจัยและพัฒนา
ทางท่องทะเลไปตลอดทะเลจีนใต้ถึงอินเดียและกว่า ให้ก้าวหน้าอย่างโดดเด่นจนเป็นที่ยอมรับในนานา
30 ประเทศในตะวันออกกลางและทวีปแอฟริกา ท�าให้ อารยประเทศเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในประเทศไทยมีการ
ประเทศจีนได้แลกเปลี่ยนวิทยาการและการแพทย์ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรการแพทย์แผนจีนใน
กับประเทศต่าง ๆ แพทย์แผนจีนเผยแพร่เข้ามาใน มหาวิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษา 9 แห่ง กระทรวง
ประเทศไทยครั้งแรกตั้งแต่ช่วงกรุงสุโขทัยเพราะในยุค สาธารณสุขให้การสนับสนุนการแพทย์แผนจีนโดยจัด
สมัยสุโขทัยซึ่งตรงกับปลายสมัยราชวงศ์หยวน (ค.ศ. ตั้งให้มีคณะกรรมการวิชาชีพเพื่อควบคุมมาตรฐาน
1206-1368) และราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644) ซึ่ง ผู้ให้บริการ มีการจัดสอบเพื่อรับใบอนุญาตประกอบ
การแพทย์แผนจีนได้พัฒนามาเป็นเวลาหนึ่งพันกว่า โรคศิลปะด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนอย่างถาวร
ปีแล้ว ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายจึงได้มี และได้จัดท�ากฎกระทรวงและระเบียบข้อบังคับ
บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในคัมภีร์พระโอสถ ต่าง ๆ ในการควบคุมคุณภาพ โดยการแพทย์แผนจีน
พระนารายณ์ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2518-2538 เป็น เป็นการแพทย์ทางเลือกหนึ่งในการรักษาโรคกระเพาะ
ช่วงตื่นตัวของการแพทย์แผนจีนในประเทศไทยเพราะ อาหารอักเสบเรื้อรังได้
มีการสถาปนาใหม่ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐ วัตถุประสงค์ของการศึกษาการรักษาโรคกระเพาะ
ประชาชนจีน จนเมื่อเริ่มเข้าสู่ พ.ศ. 2540 ในทางสากล อาหารอักเสบเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีน
และในประเทศไทยได้เกิดความสนใจในวิถีการดูแล เพื่อประมวลองค์ความรู้ศาสตร์การแพทย์แผนจีนที่
สุขภาพโดยวิธีธรรมชาติมากขึ้นตามล�าดับ ท�าให้การ ใช้ในการดูแลรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
แพทย์แผนจีน ได้รับการฟื้นฟูมีการศึกษาค้นคว้าเพิ่ม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นพื้นฐานการน�าไปใช้
เติมและถ่ายทอดกันอย่างกว้างขวางขึ้นเรื่อย ๆ ใน ประโยชน์ในเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรค
ส่วนของกระทรวงสาธารณสุขโดยกรมการแพทย์ ได้ กระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
จัดตั้ง “ศูนย์ความร่วมมือการแพทย์ไทย-จีน’’ เมื่อ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2538 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา วิธีก�รสืบค้นข้อมูล
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาในครั้งนี้สืบค้นข้อมูลงานวิจัยจาก
ที่เหมาะสม เพื่อเป็นการแพทย์ทางเลือกในการดูแล หนังสือ ต�ารา คู่มือ บทความ และระบบ Online
สุขภาพของคนไทยร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน Database ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งแต่วัน
และการแพทย์แผนไทย ต่อมาในปี 2543 รัฐมนตรี ที่ 1 มกราคม 2553 ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ค�า
ว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวง ส�าคัญที่ใช้คือ “แพทย์จีน’’ “กระเพาะอักเสบเรื้อรัง’’
สาธารณสุข ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2543 เรื่อง “การอนุญาต และ “วิธีการรักษา’’ คัดเลือกเฉพาะบทความหรืองาน
ให้บุคคลท�าการประกอบโรคศิลปะ โดยอาศัยศาสตร์ วิจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิผลการรักษาโรคกระเพาะ
การแพทย์แผนจีนตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติ อาหารอักเสบเรื้อรัง ผลการสืบค้นจากระบบ Online