Page 174 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 174

720 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 19  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2564




           ซึ่งอาการที่พบอย่างเช่นคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย   ตั้นโต้วฉื่อ (Dandouchi) อย่างละ 9 กรัม ใช้เป็นตัว
           และสามารถปรับยาให้รักษาหายได้ไม่เป็นอันตราย  ยาช่วยเพื่อระบายความร้อนที่ติดขัดอยู่ช่วงท้องและ

           ต่อผู้ป่วย [11]                             อก หลูเกิน (Lugen) 30 กรัม ใช้เป็นตัวยาช่วยเพื่อ
                5.1  กลุ่มอาการม้ามและกระเพาะอาหารเย็น  ระบายความร้อน  ปรับสมดุลกระเพาะอาหาร ระงับ
           พร่อง                                       อาเจียน  สร้างสารน�้า

                  วิธีการรักษา  อุ่นจงเจียวเพิ่มความแข็งแรง     5.3  กลุ่มอาการตับและกระเพาะอาหารมีความ
           ให้ม้าม  กระจายความเย็นระงับอาการปวด        ร้อน
                   ใช้ต�ารับยา  หวงฉีเจี้ยนจงทัง (Huangqi        วิธีการรักษา  สงบตับระบายความร้อน

           Jianzhong Tang)  ส่วนประกอบ หวงฉี (Huangqi)   ปรับสมดุลกระเพาะอาหาร  ระงับอาการปวด
           10 กรัม ใช้เพื่อบ�ารุงชี่สร้างเลือด อี้ถาง (Yitang) 30        ใช้ต�ารับยา  ฮั่วกานเจียน (Huagan Jian)
           กรัม ใช้เป็นตัวยาหลักเพื่อบ�ารุงและให้ความอุ่นจง  ส่วนประกอบ เป้ยหมู่ (Beimu) 10 กรัม  ใช้เป็นตัวยา

           เจียว ระงับปวด  ไป๋เสา (Baishao) 10 กรัม ใช้เป็น  หลักเพื่อสลายก้อนระบายความร้อน  หมู่ตันผี (Mu-
           ตัวยาเสริมเพื่อบ�ารุงอินบ�ารุงเลือด กุ้ยจือ (Guizhi)    danpi)  5 กรัมกับจือจื่อ (Zhizi) 10 กรัม  ใช้เป็นตัว

           6 กรัม ใช้เป็นตัวยาเสริมเพื่ออุ่นหยางชี่และขับความ  ยาเสริมเพื่อระบายความร้อนของตับ เฉินผี (Chenpi)
           เย็น ขิงสด (Shengjiang) 3 แผ่น ใช้เป็นตัวยาช่วยเพื่อ  กับชิงผี (Qingpi) อย่างละ 10 กรัม  ใช้เป็นตัวยาช่วย
           อุ่นกระเพาะอาหารกระจายความเย็นและลดอาการ    เพื่อปรับสมดุลชี่ของตับและปรับสมดุลการท�างานของ

           คลื่นไส้อาเจียน  พุทราจีน (Dazao)  10 ผล  ใช้เป็นตัว  ตับกับกระเพาะอาหาร ไป๋เสา (Baishao) 10 กรัม  ใช้
           ยาช่วยเพื่อบ�ารุงม้ามบ�ารุงชี่  กันเฉ่า (Gancao) 3 กรัม    เป็นตัวยาช่วยเพื่อบ�ารุงอินสงบตับและระงับอาการ

           ใช้เป็นยาน�าพาเพื่อบ�ารุงชี่ปรับสมดุลจงเจียว  ปรับตัว  ปวด  เจ๋อเซี่ย (Zexie)  6 กรัม  ใช้เป็นตัวยาน�าพาเพื่อ
           ยาในต�ารับให้เข้ากัน                        น�าต�ายาในต�ารับลงล่าง
                5.2  กลุ่มอาการม้ามและกระเพาะอาหารร้อน     5.4  กลุ่มอาการชี่ของม้ามและกระเพาะอาหาร
           ชื้น                                        พร่อง

                  วิธีการรักษา ระบายความร้อนขับความชื้น        วิธีการรักษา  บ�ารุงชี่เสริมความแข็งแรงให้
           ปรับสมดุลกระเพาะอาหารและล�าไส้  ระงับอาการปวด  ม้าม  ปรับสมดุลกระเพาะอาหารลดอาการแน่นท้อง

           ใช้ต�ารับยา หวางซื่อเหลียนผู่อิ่น (Wangshi Lianpu   ใช้ต�ารับยา  เซินหลิงไป๋จู๋ส่าน (Shenling Baizhu
           Yin)  ส่วนประกอบ หวงเหลียน (Huanglian) 6 กรัม    San) ส่วนประกอบ เหรินเซิน (Renshen)  ฝูหลิง
           ใช้เป็นตัวยาหลักเพื่อระบายความร้อนดับขับความชื้น   (Fuling) ไป๋จู๋ (Baizhu) อย่างละ 15 กรัม ใช้เป็น

           โฮ่วผู่ (Houpu) 9 กรัม  ใช้เป็นตัวยาหลักเพื่อขับ  ตัวยาหลักเพื่อบ�ารุงชี่เสริมความแข็งแรงให้ม้ามขจัด
           เคลื่อนชี่สลายความชื้น  สือชางผู่ (Shichangpu)   ความชื้น ซันเย่า (Shanyao)  15 กรัมกับเหลียนจื่อ

           6 กรัม ใช้เป็นตัวยาเสริมเพื่อขจัดความชื้น  ปั้นเซี่ย   โร่ว (Lianzirou) 6 กรัม  ใช้เป็นตัวยาเสริมเพื่อบ�ารุง
           (Banxie) 9 กรัม  ใช้เป็นตัวยาเสริมเพื่อขับความชื้น  ชี่เสริมความแข็งแรงให้ม้ามและบรรเทาอาการท้องเสีย
           และปรับสมดุลกระเพาะอาหาร  ซันจือ (Shanzhi) กับ  ไป๋เปี่ยนโต้ว (Baibiandou) กับอี้อี่เหริน (Yiyiren)
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179