Page 173 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 173
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 3 Sep-Dec 2021 719
อาการที่พบ อาการหลักคือปวดท้องไม่หนัก ปวดต�าแหน่งที่แน่นอน ไม่ชอบให้กดท้อง อาการรอง
มากปวดบ่อย แน่นท้องไม่สบายท้อง หลังรับประทาน คือปวดท้องหลายวันไม่หาย ปวดเหมือนเข็มแทง
อาหารอาการปวดจะมากขึ้น ไม่ค่อยมีแรง อาการ อุจจาระมีเลือดปะปนหรืออุจจาระสีด�า ลิ้นสีแดงเข้ม
รองคือ เบื่ออาหาร มือเท้าไม่อุ่น อุจจาระเหลว ท้อง หรือม่วงคล�้าหรือมีจ�้าเลือด ชีพจรตึงและฝืด ส่อง
เสียบ่อย ตัวลิ้นซีดแดงหรือตัวลิ้นอ้วนใหญ่มีรอยฟัน กล้องตรวจกระเพาะอาหารพบว่าเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ฝ้าลิ้นขาวบาง ชีพจรพร่องและอ่อน ส่องกล้องตรวจ มีลักษณะเป็นเม็ดหรือเป็นก้อนกลม มีจุดเลือดออก
กระเพาะอาหารพบว่าเยื่อบุกระเพาะอาหารสีซีด เยื่อ ในเยื่อเมือก เมือกมีสีเทาหรือน�้าตาล มองเห็นเครือ
เมือกบาง และการบีบตัวของกระเพาะอาหารลดลง ข่ายหลอดเลือดได้ชัดเจน และหลอดเลือดแดงเข้ม
4.5 กลุ่มอาการชี่ของตับและกระเพาะอาหาร
ติดขัด 5. ก�รดูแลรักษ�และป้องกันโรคกระเพ�ะ
อาการที่พบ อาการหลักคือปวดแน่นท้อง อ�ห�รอักเสบเรื้อรัง
ปวดเสียดชายโครงสีข้าง อาการรองคือเมื่อโกรธ การดูแลรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
อาการปวดจะมากขึ้น เรอ ผายลมแล้วจะรู้สึกดีขึ้น ในสมัยโบราณเริ่มมีการบันทึกในคัมภีร์เน่ยจิงไว้
แน่นหน้าอก หายใจเข้าลึก ๆ และชอบถอนหายใจ ว่า “ปวดท้อง แน่นท้อง บริเวณท้องและหัวใจปวด
อุจจาระไม่สุด ตัวลิ้นซีดแดง ฝ้าลิ้นขาวบาง ชีพจรตึง เสียดสีข้าง เหมือนมีบางอย่างติดที่กระบังลม อาหาร
ส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหารพบว่ามีการไหลย้อน ไม่ย่อย เลือกจุดซานหลี่ (San Li)’’ คือเมื่อเป็นกระ
ของน�้าดี การบีบตัวของกระเพาะอาหารอย่างรวดเร็ว เพาะอาหารอักเสบให้เลือกใช้จุดจู๋ซานหลี่ (Zu San
4.6 กลุ่มอาการอินของกระเพาะอาหารพร่อง Li) มารักษา โดยเป็นการรักษาจากกลไกการเกิดโรค
อาการที่พบ อาการหลักคือปวดแสบร้อน ที่เกิดจากชี่ของม้ามและกระเพาะอาหารขึ้นและลงไม่
ปวดท้องบ่อย ท้องไส้ปั่นป่วน อาการรองคือท้อง สมดุล โดยปัจจุบันจะเลือกใช้จุดจู๋ซานหลี่ (Zu San
ว่างอาการจะก�าเริบ หิวแต่ไม่อยากอาหาร หลังจาก Li) จงหว่าน (Zhong Wan) และเน่ยกวน (Nei Guan)
รับประทานอาหารจะอิ่มเร็วและแน่นท้อง ปากแห้ง เป็นหลัก และจะเพิ่มจุดต่างๆตามกลุ่มภาวะอาการที่
แต่ไม่อยากดื่มน�้า ปากแห้งลิ้นแห้ง ท้องผูก อุจจาระ ได้ตรวจวินิจฉัย แพทย์จีนหลี่ตงหยวนมักใช้ยาที่มี
แข็ง ร่างกายซูบผอม ชอบอาหารเครื่องดื่มเย็น ลิ้น ฤทธิ์หวาน เผ็ด อุ่น เช่น เหรินเซิน (Renshen) หวงฉี
แดงไม่ชุ่มชื้น ลิ้นมีรอยแตก ฝ้าลิ้นน้อยหรือไม่มีฝ้า (Huangqi) เป็นต้น เพื่อช่วยชี่ของม้ามขึ้นด้านบน ใน
ลิ้น ชีพจรเล็กและเร็ว ส่องกล้องตรวจกระเพาะอาหาร ทางกลับกันแพทย์จีนเย่เทียนทู่ (Ye Tian Tu) มักใช้
พบว่าผิวเยื่อเมือกมีความหยาบและไม่สม�่าเสมอ บาง ยาหวาน เย็น เช่น อวี้จู๋ (Yuzhu) ม่ายตง (Maidong)
และเปราะ รอยพับจะบางลงหรือหายไป แสดงให้เห็น เป็นต้น เพื่อช่วยให้ชี่ของกระเพาะอาหารลงด้าน
การเปลี่ยนแปลงเหมือนรอยแตก หรือมองเห็นเครือ ล่าง [8-10] การรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง
ข่ายของเส้นเลือดเล็ก ๆ ใต้เยื่อเมือกได้ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนจีนในปัจจุบันพบว่า จาก
4.7 กลุ่มอาการเลือดคั่งค้างที่กระเพาะอาหาร ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา 103 คน มีประสิทธิผล
อาการที่พบ อาการหลักคือปวดแน่นท้อง 97.08% และพบอาการไม่พึงประสงค์เพียง 7.77%