Page 170 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 170

716 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 19  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2564




           Database ของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีพบว่างาน   มีหลักฐานปรากฏพบชื่อโรคคือโรคปวดท้องเป็นครั้ง
           วิจัยหรือบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องรวมทั้งหมด 3,170   แรก ต่อมาแพทย์จีนหลี่ตงหยวน (Li Dong Yuan)

           เรื่อง จึงได้น�าข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการทบทวน  ได้เขียนต�ารา หลานชื่อมี่เตี่ยน (Lan Shi Mi Dian)
           วรรณกรรม                                    โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคปวดท้อง  อธิบายสาเหตุ
                                                       และกลไกการเกิดโรค กลุ่มอาการและทฤษฎีการ
                       เนื้อห�ที่ทบทวน                 รักษา   ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 นายแพทย์แบร์รี เจมส์
                                                           [3]
           1. โรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรังกับการแพทย์  มาร์แชลล์ (Professor Barry J. Marshall)  และนาย
           แผนจีน                                      แพทย์โรบิน วอร์เรน (Professor Robin Warren) ได้

                   โรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรังในทางการแพทย์  วิจัยพบว่าโรคแผลกระเพาะอาหารและล�าไส้เล็กส่วน
           แผนจีนคือโรคปวดบริเวณลิ้นปี่ (Wei Wan Tong)    ต้นเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า
           โรคท้องอืด (Pi Man) โรคเรอเปรี้ยว (Fan Suan)   เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร (Helicobacter pylori) เรียก

           อาการที่พบบ่อยคือปวดบริเวณกระเพาะอาหารหรือ  ย่อ ๆ ว่า เอช.ไพโลไร (H. pylori) ปัจจุบันแพทย์แผน
           บริเวณท้องช่วงบน กรดไหลย้อน คลื่นไส้ อาเจียน และ  ตะวันตกจะใช้วิธีการตรวจแบบส่องกล้องทางเดิน

           อาจมีอาการร่วมคือปากขมคอขม เรอเปรี้ยว แสบร้อน  อาหาร (gastroscope) ตรวจหาเชื้อ H. pylori โดย
           ช่วงอกและท้องช่วงบน แน่นท้อง ท้องเสียหรือท้องผูก   การคีบชิ้นเนื้อเล็ก ๆ มาตรวจหาเชื้อ และใช้ทฤษฎีการ
           อาการมักเป็นมานานและก�าเริบบ่อยครั้ง เมื่อเป็นมา  ตรวจรักษาแบบแพทย์แผนจีนร่วมกัน

           นานและไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องก็มีภาวะเสี่ยงเป็น
           มะเร็งกระเพาะอาหารได้ โดยต�าแหน่งของโรคที่พบ  3. ส�เหตุและกลไกก�รเกิดโรคกระเพ�ะอ�ห�ร

           บ่อยจะอยู่ที่กระเพาะอาหาร ม้าม ตับและล�าไส้  ใน  อักเสบเรื้อรัง
                                              [1-2]
           ทางการแพทย์แผนจีนจะใช้วิธีการตรวจวินิจฉัยโรค          สาเหตุของการเกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
           โดยอาศัยการดู การฟังและการดมกลิ่น การซักถาม   เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย

           การตรวจชีพจรและการคล�า แล้วน�าอาการและผลการ  H. pylori  ซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด รับประทาน
           ตรวจต่าง ๆ มาวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีการแพทย์แผนจีน  ยาแก้ปวดชนิดที่กัดกระเพาะอาหาร รับประทานยา
           เพื่อแยกเป็นกลุ่มอาการของโรค (Zheng Xing) และ  กลุ่มยาต้านเกล็ดเลือด ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

           ก�าหนดวิธีการรักษาที่เหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละคน   ความเครียด รับประทานอาหารรสเผ็ด รับประทาน
                                                       อาหารไม่ตรงเวลา
           2. คว�มหม�ยและที่ม�ของโรคกระเพ�ะอ�ห�ร               ในทางการแพทย์แผนจีนมักจะพบสาเหตุหลัก
           อักเสบเรื้อรัง                              อยู่ 4 ประการคือ [4-6]

                   โรคกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรังหรือโรคปวด     1)  เสียชี่จากภายนอก

           ท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่พบครั้งแรกในคัมภีร์เน่ยจิง (Nei                      เสียชี่ หรือ ปัจจัยก่อโรค จากภายนอก
           Jing) ได้มีการจดบันทึกต�าแหน่งโรคในเส้นลมปราณ   ที่มากระทบกระเพาะอาหารทางการแพทย์จีนเรียก
           อาการและวิธีการ ต่อมาในยุคของราชวงศ์จินหยวนได้  ว่า  ลิ่วหยิ่น (Liu Yin: ปัจจัยก่อโรคภายนอกทั้ง 6)
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175