Page 164 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 164

710 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 19  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2564




           วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น โดยมีการสอน สาธิตย้อนกลับ   สื่อการสอนดังกล่าวจะต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย
           และทำาต่อเนื่อง การบริหารร่างกายแบบมณีเวชอย่าง  และครอบคลุมตามหลักการของศาสตร์มณีเวช จึงจะ

           ต่อเนื่องได้ผลลัพธ์ที่ดีเกี่ยวกับการลดอาการปวด ส่วน  ส่งผลให้เกิดคุณภาพโดยรวมของการดูแลรักษาด้วย
           อีก 1 งานวิจัยพบว่าการทรงตัว ความยืดหยุ่น และ  ศาสตร์มณีเวช
           ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกำามือดีขึ้นกว่าก่อนฝึกและ     ซึ่งเมื่อสรุปรูปแบบบทความทางวิชาการและ

           สำาหรับกลุ่มส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอดอีก 4   งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมณีเวชในการดูแลรักษา
           เรื่องมีความคล้ายคลึงกันคือ การให้สอนและสาธิตการ  สุขภาพด้วยศาสตร์มณีเวช สามารถนำาองค์ความรู้
           นั่งท่าผีเสื้อ โดยมี 4 เรื่องพบว่ามีการสอนผู้ป่วยให้นั่ง  ไปใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง คือ 1) มีการสร้างคู่มือหรือ

           ท่าผีเสื้อ ทำาให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีคือ ความปวดลดลง และ  แนวปฏิบัติการใช้ศาสตร์มณีเวชในการดูแลรักษา
           ช่วยให้ระยะเวลาเปิดของปากมดลูกเร็วขึ้น และมี 1   ผู้ป่วยโรคต่าง ๆ เช่นการดูแลหญิงเจ็บครรภ์คลอด
           เรื่องวัดความพึงพอใจเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม  กลุ่มอาการปวดต่าง ๆ 2) การร่วมขับเคลื่อนด้วยทีม

           และกลุ่มทดลองพบความพึงพอใจมีค่าคะแนนที่ใกล้  สหวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ 3) การใช้หลักการบริหาร
           เคียงกัน และจะเห็นได้ว่าวิธีการบริหารร่างกายแบบ  ร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวชช่วยในส่งเสริมสุขภาพใน

           มณีเวชที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ที่ดีนั้นเกี่ยวข้องกับการให้  กลุ่มต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริมการมีสุขภาพที่ดี
           สอน การสาธิต และการทำาอย่างต่อเนื่อง
                2.  วิธีการการสอน การสาธิตเพื่อให้มีการปฏิบัติ       อภิปร�ยผล

           อย่างต่อเนื่อง มีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9 เรื่อง สามารถ     งานวิจัยที่คัดเลือกมาทบทวนวรรณกรรมอย่าง
           สรุปลักษณะของการสอนที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีได้ดังนี้   เป็นระบบครั้งนี้จำานวน 11 เรื่อง ซึ่งเป็นงานวิจัยที่

                  2.1   การสอน การให้ความรู้และฝึกการทำา  ทำาในประเทศและตีพิมพ์เผยแพร่ ไม่พบงานวิจัย
           กายบริหารแบบมณีเวชจากวิทยากรโดยทีมวิทยากร   ในต่างประเทศ แม้ว่าจะได้ทำาการสืบค้นข้อมูลอย่าง
           ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์มณีเวชแก่   ครอบคลุมตามฐานข้อมูลที่กำาหนดไว้ ในแง่ของความ

           ผู้ป่วยสามารถช่วยให้เกิดความเข้าใจ และเกิดความ  ทันสมัย พบว่ามีงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในช่วง
           ตระหนักในการใช้ศาสตร์มณีเวช ช่วยให้เกิดความต่อ  ปี พ.ศ. 2555-2560 มากที่สุด โดยเป็นงานวิจัยเชิง
           เนื่องในการปฏิบัติ และส่งผลให้บรรเทาอาการปวดได้  ทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม 2 เรื่อง การวิจัยกึ่งทดลอง

                  2.2   การใช้สื่อในการสอน เช่นการใช้รูปภาพ  7 เรื่อง งานวิจัยแบบ crossover design 1 เรื่อง และ
           แสดงท่ากายบริหาร การแจกคู่มือการบริหารให้กลับ  งานวิจัย R&D 1 เรื่อง โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่ม
           ไปใช้ที่บ้าน การจัดทำาแบบบันทึกข้อมูลช่วยส่งผลให้  รักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ 7 เรื่อง และกลุ่มส่งเสริม

           เกิดการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง                ความก้าวหน้าของการคลอด 4 เรื่องซึ่งถือว่าในแง่ของ
                จากผลการทบทวนดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่าวิธี  คุณภาพในเชิงระเบียบวิจัย มีความน่าเชื่อถือ (หลัก

           การสอน และสื่อในการสอนการบริหารร่างกายแบบ   ฐานเชิงประจักษ์ระดับ level 1.c–level 2.d) โดยส่วน
           มณีเวชมีความสำาคัญ เป็นการเน้นการมีส่วนร่วมใน  ใหญ่ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 25 คน และเป็น
           การวางแผนการดูแลร่วมกันโดยการสอนและการใช้   งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิผลการใช้มณีเวชใน
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169