Page 147 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 147

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  693




            สิงหาคม 2563 ผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่รักษา  บริการ ลดปัจจัยในการขาดนัดการรักษา และผู้ป่วยได้
            แบบประคับประคองที่มารับการรักษาที่คลินิกกัญชา  รับประโยชน์จากการบริการที่มีคุณภาพ รักษามาตรฐาน

            ทางการแพทย์แผนไทยมีจ�านวน 364 คน มีผู้ป่วยที่ขาด  ในการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
            นัดทั้งหมด 146 คน                           ตลอดจนน�าไปสู่แนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสมตาม
                 ในกรณีที่ผู้ป่วยขาดนัดหรือไม่ตรงนัดจ�านวนมาก   ความต้องการของผู้ป่วย และสอดคล้องกับบริบทของ

            โดยเฉพาะในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ก่อให้เกิดผล   โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
            กระทบคือ ท�าให้เราไม่สามารถติดตามอาการและการใช้  ผสานต่อไป
            ยาของผู้ป่วยได้ว่า ใช้ตามแพทย์สั่งหรือไม่ เนื่องจาก

            กัญชายังถือเป็นยาเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท   วัตถุประสงค์ก�รวิจัย
            ต้องมีการติดตามการใช้ยาอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะผู้ป่วย     เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดของผู้ป่วย
            มะเร็งระยะสุดท้ายที่มีอาการค่อนข้างหนักอยู่แล้ว ยิ่ง  โรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่รักษาแบบประคับประคอง ของ

            ต้องติดตามอาการและความปลอดภัยของผู้ป่วยหลังใช้   คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลการ
            อีกทั้งยังเป็นการรักษามาตรฐานการจัดบริการคลินิก  แพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

            กัญชาทางการแพทย์แผนไทยด้วย  การศึกษาครั้งนี้จึง
            มีความสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัด      ระเบียบวิธีศึกษ�
            การรักษาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ คลินิกกัญชา

            ทางการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย   กรอบแนวคิดในก�รวิจัย
            และการแพทย์ผสมผสาน จากการทบทวนวรรณกรรม

                                             [7]
            เกี่ยวกับงานวิจัยในเรื่องการขาดนัดการรักษา  มีความ  1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ
            คล้ายคลึงกันกับสิ่งที่คณะผู้วิจัยต้องการศึกษาคือศึกษา  อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส
            ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาเหมือนกัน แตก  สิทธิการรักษา บุคคลที่ผู้ป่วย  การขาดนัดการ

            ต่างกันที่ตัวยาและตัวโรค จึงสามารถน�ามาศึกษาอ้างอิง  อาศัยอยู่ด้วย การวินิจฉัยโรค   รักษาของผู้ป่วยโรค
                                                          ที่อยู่อาศัย
            ได้ และพบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษา  2. บริบทการมารับการรักษา   มะเร็งระยะสุดท้าย
            มี 4 ปัจจัยหลัก คือ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ   ได้แก่ ระยะเวลาที่ป่วย เหตุผล  ที่รับการรักษาแบบ
                                                                                  ประคับประคองที่
            อาชีพ สถานภาพสมรส สิทธิการรักษา บุคคลที่ผู้ป่วย  ที่ขาดนัด ค่าใช้จ่ายในการเดิน  คลินิกกัญชาทางการ
            อาศัยอยู่ด้วย การวินิจฉัยโรค ที่อยู่อาศัย 2. บริบทการ  ทาง ระยะทางในการเดินทาง   แพทย์แผนไทย โรง-
            มารับการรักษา ได้แก่ ระยะเวลาที่ป่วย เหตุผลที่ขาดนัด   ระยะเวลาในการเดินทาง  พยาบาลการแพทย์
                                                                                  แผนไทยและการ
            ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ระยะทางในการเดินทาง   3. ความร่วมมือในการรักษาของ  แพทย์ผสมผสาน
            3. ความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วย 4. การสนับสนุน  ผู้ป่วย

            ทางสังคมของผู้ป่วย คณะผู้วิจัยจึงได้หาความสัมพันธ์  4. การสนับสนุนทางสังคมของ
                                                          ผู้ป่วย
            ระหว่างปัจจัยดังกล่าว กับการขาดนัดการรักษาของผู้
            ป่วยโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ เพื่อพัฒนาระบบ   ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152