Page 149 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 149

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 3  Sep-Dec  2021  695




                 1)  ลักษณะของปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ   กรุงเทพฯ (จ�านวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 68.2) อาศัย
            สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ รายได้ต่อ  อยู่ร่วมกับสามี ภรรยา (จ�านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ

            เดือน และถิ่นที่อยู่อาศัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ  46.4 ของจ�านวนค�าตอบที่เลือก และคิดเป็นร้อยละ 75.3
            แจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยง  ของกลุ่มตัวอย่าง) เป็นโรคมะเร็งล�าไส้ (จ�านวน 20 คน
            เบนมาตรฐาน                                  คิดเป็นร้อยละ 23.5) และมะเร็งเต้านม (จ�านวน 20 คน

                 2)  ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระที่มีการ   คิดเป็นร้อยละ 23.5) มีระยะเวลาที่ป่วย น้อยกว่า 1 ปี
            กระจาย ได้แก่ รายได้ ระยะเวลาที่ป่วย ค่าใช้จ่ายในการ  (จ�านวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 45.9) รักษาที่โรงพยาบาล
            เดินทาง ระยะทาง ระยะเวลาในการเดินทาง ประวัติการ  รัฐในกรุงเทพฯ (จ�านวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 77.6) มี

            รักษาในโรงพยาบาล ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางจากที่พักอาศัยถึงโรงพยาบาล
            ที่มีส่วนผสมของกัญชา กับการขาดนัดการรักษาของ   การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน 100-149
            ผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์  บาท (จ�านวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 64.7) ระยะทางจาก

            สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน (Spearman’s Correlation)   ที่พักถึงโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
                 3)  ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระที่มีการ   ผสมผสาน 10-19 กิโลเมตร (จ�านวน 27 คน คิดเป็นร้อย

            กระจายแบบโค้งปกติได้แก่ อายุ การสนับสนุนทาง  ละ 31.8) ระยะเวลาในการเดินทางจากที่พักของผู้ป่วย
            สังคม กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็ง  ถึงโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
            ระยะสุดท้าย โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ  ผสาน ระยะเวลา 60-89 นาที (จ�านวน 38 คน คิดเป็น

            เพียร์สัน (Pearson’ s Correlation)          ร้อยละ 44.7) แผนการรักษาของแพทย์ประจ�าตัวผู้ป่วย
                 4)  ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ได้แก่ เพศ   คือ รักษาแบบประคับประคอง (จ�านวน 31 คน คิดเป็น

            อาชีพ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา บุคคลที่อาศัย  ร้อยละ 36.5) เคยผ่านการรักษาเคมีบ�าบัด (65 คน คิด
            อยู่ด้วย  การใช้ยาและสารอันตราย และเหตุผลของการ  เป็นร้อยละ 36.1 ของจ�านวนค�าตอบที่เลือกและคิดเป็น
            ขาดนัดกับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็ง  ร้อยละ 80.2 ของกลุ่มตัวอย่าง) สาเหตุที่ขาดนัดคือ ติด

            ระยะสุดท้ายโดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-square)  ธุระ (จ�านวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 และคิดเป็น
                                                        ร้อยละ 27.1 ของกลุ่มตัวอย่าง) ความร่วมมือในการ
                          ผลก�รศึกษ�                    รักษาด้วยยาของผู้ป่วยได้ดีที่สุด คือ อ่านฉลากทุกครั้ง


                 จากผลที่ได้สามารถสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างส่วน  ก่อนรับประทาน ((x) X = 3.89, S.D. = 0.46) การ
            ใหญ่เป็นเพศหญิง (จ�านวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 54.1)   สนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วยได้ดีที่สุดคือ บุคคลรอบ
            มีอายุระหว่าง อายุ 50-59 ปี (จ�านวน 26 คน คิดเป็น   ข้างท�าให้รู้สึกว่ามีความส�าคัญต่อผู้ป่วย ((x) X = 4.96,

            ร้อยละ 30.6) สถานภาพแต่งงาน (จ�านวน 59 คน คิด  S.D. = 0.33)
            เป็นร้อยละ 69.4) ว่างงาน (จ�านวน 51 คน คิดเป็นร้อย     ในส่วนของการหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่

            ละ 60) มีระดับการศึกษา ในชั้นประถมศึกษา (จ�านวน   สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาจ�าแนกตามปัจจัยส่วน
            33 คน คิดเป็นร้อยละ 38.8) มีรายได้น้อยกว่า 3,000   บุคคลพบว่า เพศ วุฒิการศึกษา บุคคลที่อาศัยอยู่ร่วม
            บาท (จ�านวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 58.8) อาศัยอยู่ใน  กับผู้ป่วย เป็นปัจจัยส่วนบุคคลที่สัมพันธ์กับการขาดนัด
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154