Page 148 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 148
694 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
วิธีก�รดำ�เนินก�รวิจัย ส่วนที่ 3 ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่ ป่วย ลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ ให้เลือกตอบ
สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยมะเร็งระยะ ว่าเคยปฏิบัติหรือไม่เคยปฏิบัติจ�านวน 7 ข้อ
สุดท้ายที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคองในคลินิก ส่วนที่ 4 การสนับสนุนทางสังคมของ ลักษณะ
กัญชาทางการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลการแพทย์ เป็นข้อค�าถามแบบประมาณค่า 5 ระดับจ�านวน 10 ข้อ
แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรุงเทพมหานคร
ก�รเก็บรวบรวมข้อมูล
ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง หลังจากโครงการวิจัยผ่านการรับรองจากคณะ
ประชากรคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของกรมการแพทย์
ระยะสุดท้ายที่ได้รับการรับการรักษาแบบประคับ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกแล้ว และได้รับอนุญาต
ประคองที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ที่ญาติ ให้เข้าถึงที่เก็บข้อมูลของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย
หรือผู้เข้าร่วมการวิจัยสื่อสารได้ เข้าใจ ยินยอมและขาด และการแพทย์ผสมผสาน ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของ
นัดการรักษาตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป ทั้งเพศชายและหญิง ผู้ป่วย โดยท�าการสืบค้นจากเวชระเบียนของผู้มา
อายุตั้งแต่ 20-90 ปี จ�านวน 85 คน กลุ่มตัวอย่างคือ รับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย โรง-
จ�านวนประชากรทั้งหมด พยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ร่วมกับโปรแกรม softcon เพื่อหาจ�านวนผู้ป่วยโรค
เครื่องมือที่ใช้ในก�รวิจัย มะเร็งระยะสุดท้าย ที่รับการรักษาแบบประคับประคอง
แบบสอบถามในงานวิจัยนี้ ใช้แนวทางของ ด้วยยาที่มีส่วนผสมของกัญชาทั้งหมดที่ขาดนัดการ
แบบสอบถามในงานวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการ รักษาตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป หาข้อมูลที่อยู่ หมายเลข
ขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยจิตเภทที่เข้ารับการรักษาใน โทรศัพท์ติดต่อทั้งผู้ป่วยและญาติ จากนั้นจดรายชื่อเพื่อ
โรงพยาบาลชุมชนบุญญพงษ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ของ เตรียมตัวในการขออนุญาตเพื่อสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
[7]
น�้าทิพย์ สงวน แบบสอบถามในการวิจัยแบ่งเป็น 4 โดยใช้แบบสอบถามแบบสรุปย่อสั้น ๆ ใช้เวลาประมาณ
ส่วน คือ 5-10 นาทีต่อคน หากไม่สมัครใจตอบก็สามารถหยุดได้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นลักษณะข้อค�าถาม ทันที และส่งเอกสารแนะน�าผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยทาง
ให้เลือกตอบ จ�านวน 7 ข้อ อีเมล์ หรือทางไปรษณีย์ แล้วแต่ที่ผู้ป่วยสะดวกหลัง
ส่วนที่ 2 บริบทการมารับการรักษา สัมภาษณ์เสร็จ เมื่อได้แบบสอบถามหรือสัมภาษณ์ครบ
ประกอบด้วยค�าถาม 7 ข้อ เป็นค�าถามเกี่ยวกับ ตามจ�านวน ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลครบแล้ว
ระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคมะเร็ง ประวัติการเข้ารับการ จึงน�าไปวิเคราะห์ทางสถิติต่อไป
รักษาในโรงพยาบาล เหตุผลที่ไม่มาตรวจตามนัด ค่าใช้ วิเคร�ะห์ข้อมูล
จ่ายในการเดินทาง ระยะทางในการเดินทาง ระยะเวลา
ในการเดินทางมารับการรักษา การใช้ยาหรือสารที่เป็น วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมส�าเร็จรูปในการ
อันตราย วิเคราะห์สถิติทางสังคมศาสตร์ดังนี้