Page 152 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 3
P. 152
698 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2564
ตารางที่ 6 แสดงผลการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Correlation)
ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย (N = 85)
การสนับสนุนทางสังคม การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วย
Pearson’s Sig. ระดับความสัมพันธ์
Correlation (2-tailed)
่
1. ท่านรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยว 0.307* 0.004 สัมพันธ์ตำา
2. ได้รับการช่วยเหลือให้ได้รับสิ่งของเครื่องใช้ที่จำาเป็น -0.256* 0.018 สัมพันธ์ตำา ่
3. มีคนแบ่งเบาภาระของท่านทั้งที่บ้านและที่ทำางาน -0.220* 0.043 สัมพันธ์ตำา ่
่
4. มีผู้ช่วยเหลือเรื่องพาหนะในการเดินทางพบแพทย์ -0.428* 0.000 สัมพันธ์ตำา
รวม -0.256* 0.035 สัมพันธ์ตำา ่
*มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ความสัมพันธ์กันในระดับต�่า และเป็นไปในทิศทาง ของผู้ป่วยในระดับต�่า และเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม
เดียวกัน ส่วนผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษาด้วยเคมีบ�าบัด กัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามตารางที่ 6
มีความสัมพันธ์กันในระดับต�่าและมีทิศทางตรงกันข้าม
กัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามตารางที่ 4 อภิปร�ยผล
จ�าแนกตามความร่วมมือในการรักษาด้วยยา พบ ผลการศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการ
ว่า อ่านฉลากทุกครั้งก่อน รับประทานตรงเวลาทุกครั้ง รักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้ายที่รักษาแบบประ
ท่านเคยลืมรับประทานยา ท่านไปตรวจตามนัดและรับ คับประคอง ของคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
ยาสม�่าเสมอ มีความสัมพันธ์การขาดนัดการรักษาของ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ผสาน สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้
มีความสัมพันธ์กันในระดับต�่า และเป็นไปในทิศทางตรง ในส่วนของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ
กันข้ามกัน ส่วนเคยหยุดยาเองโดยแพทย์ไม่ได้สั่ง มี การขาดนัดการรักษา คือ เพศ วุฒิการศึกษา บุคคลที่
ความสัมพันธ์กันในระดับต�่า และเป็นไปในทิศทาง อาศัยอยู่ด้วย โดยเพศหญิง จะขาดนัดการรักษามาก
เดียวกัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามตารางที่ 5 ที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ อมิโตจ ที่ว่าจากการ
[8]
จ�าแนกตามการสนับสนุนทางสังคม พบว่าได้รับ ศึกษาผู้ป่วยมะเร็งที่รอดชีวิตตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไปที่ขาดนัด
การช่วยเหลือให้ได้รับสิ่งของเครื่องใช้ที่จ�าเป็น มีคนแบ่ง การรักษา พบว่า เพศหญิงมีอัตราการขาดนัด (ร้อยละ
เบาภาระของท่านทั้งที่บ้านและที่ท�างาน มีผู้ช่วยเหลือ 55) มากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 39) เนื่องจากมีอัตราการ
เรื่องพาหนะในการเดินทางพบแพทย์ มีความสัมพันธ์ รอดชีวิตที่สูงกว่า โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งเต้า
การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย มี นม วุฒิการศึกษา ปวช. จะขาดนัดมากที่สุด สอดคล้อง
ความสัมพันธ์กันในระดับต�่า และเป็นไปในทิศทางตรง กับงานวิจัยของ สุปวีณ์ ที่ว่ายิ่งการศึกษาต�่ากว่ามัธยม
[9]
กันข้ามกัน อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05 ท่านรู้สึก จะให้ความส�าคัญของการมาตรวจตามนัด และเชื่อฟัง
อ้างว้างโดดเดี่ยว มีความสัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษา แพทย์มากกว่าและบุคคลที่อาศัยอยู่กับญาติ จะขาดนัด