Page 95 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 95

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  325




            ตารางที่ 3  จำานวนและร้อยละผลการรักษาภาวะการนอนไม่หลับของกลุ่มตัวอย่างหลังได้รับตำารับยาศุขไสยาศน์ที่เวลาต่าง ๆ
                     (n = 60)

             ผลการรักษา                                       จำานวน (ร้อยละ)
                                          สัปดาห์ที่ 1   สัปดาห์ที่ 2   สัปดาห์ที่ 3   สัปดาห์ที่ 4
             ภาวะการไม่นอนหลับดีขึ้น     48 (80.00)     55 (91.67)     58 (96.67)   58 (96.67)
             ภาวะการไม่นอนหลับคงเดิม     12 (20.00)      5 (8.34)       2 (3.34)      2 (3.34)
             ภาวะการไม่นอนหลับแย่ลง        0 (0.00)      0 (0.00)       0 (0.00)      0 (0.00)





            ตารางที่ 4  จำานวนและร้อยละคุณภาพการนอนหลับของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังได้รับตำารับยาศุขไสยาศน์ (n = 60)

              คุณภาพการนอนหลับ
                                                                     จำานวน (ร้อยละ)
             (คะแนนที่เป็นไปได้)
                                                              ก่อนการรักษา       หลังการรักษา
             คุณภาพการนอนหลับที่ดี (0-5)                        0 (0.00)         41 (68.33)
             คุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดี (6-21)                  60 (100.00)        19 (31.67)







            เมื่อติดตามต่อเนื่องจนครบ 4 สัปดาห์ พบว่ากลุ่ม  นอนหลับ เฉลี่ยเท่ากับ 6.47 ± 1.90 โดยมีรายละเอียด
            ตัวอย่างจำานวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 96.67 มีภาวะ  (ตารางที่ 4 และ 5)

            การนอนไม่หลับดีขึ้น โดยมีเพียง 2 คนเท่านั้นที่ภาวะ     ประเด็นที่ 3 คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ 5
            การนอนไม่หลับคงเดิม โดยมีรายละเอียด (ตาราง   มิติและภาวะสุขภาพ โดยใช้เครื่องมือ EuroQol
            ที่ 3)                                      อรรถประโยชน์ของ EQ-5D-5L และ VAS ในกลุ่ม

                 ประเด็นที่ 2 คุณภาพการนอนหลับ การประเมิน  ตัวอย่าง 60 คน พบว่าก่อนการรักษาอาการนอนไม่
            คุณภาพการนอนหลับใช้แบบประเมิน PQSI ฉบับ     หลับด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์ มีคะแนนคุณภาพชีวิต

            แปลภาษาไทย ในกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังได้รับ  ด้านสุขภาพและภาวะสุขภาพเฉลี่ยเท่ากับ 0.821 ±
            ตำารับยาศุขไสยาศน์ พบว่าก่อนเริ่มต้นการรักษากลุ่ม  0.19 และ 83.43 ± 14.07 คะแนนตามลำาดับ และเมื่อ
            ตัวอย่างทั้ง 60 คน มีคะแนนคุณภาพการนอนหลับที่  ได้รับการรักษาด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์ครบ 4 สัปดาห์

            ไม่ดี คิดเป็นร้อยละ 100.00 คะแนนคุณภาพการนอน  กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพและ
            หลับเฉลี่ยเท่ากับ 14.13 ± 2.29 และหลังได้รับการ  ภาวะสุขภาพเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

            รักษาด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์ครบ 4 สัปดาห์ พบว่า  เท่ากับ 0.903 ± 0.11 และ 89.27 ± 11.45 คะแนน
            กลุ่มตัวอย่างจำานวน 41 คน (ร้อยละ 68.33) มีคะแนน  ตามลำาดับ โดยมีรายละเอียด (ตารางที่ 6)
            คุณภาพการนอนหลับที่ดี โดยมีคะแนนคุณภาพการ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100