Page 104 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 104
334 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
กลุ่มตัวอย่างที่มารับการรักษาตั้งแต่เดือนกันยายน ใช้ยา ได้แก่ อาการไม่พึงประสงค์ และผลต่อตับและ
พ.ศ. 2562 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ตามเกณฑ์ ไต โดยความปลอดภัยต่อตับพิจารณาจากค่าเอนไซม์
คัดเข้า คือ 1) มีอาการนอนไม่หลับมากกว่า 1 เดือน ของตับ 2 ชนิด ได้แก่ aspartate aminotransferase
2) ผลรวมคะแนนคุณภาพการนอนหลับ (Pittsburgh (AST) และ alanine aminotransferase (ALT)
Sleep Quality Index: PSQI) มากกว่า 5 คะแนน และความปลอดภัยต่อไต พิจารณาจากผลการตรวจ
3) ได้รับการรักษาด้วยตำารับยาศุขไสยาศน์รูปแบบผง serum creatinine (SCr) และอัตราการกรองของ
ของโรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จ.สกลนคร ไต (estimated glomerular filtration rate, eGFR)
และ 4) มีผลการติดตามคุณภาพการนอนหลับอย่าง ส่วนที่ 4 คุณภาพชีวิต โดยใช้แบบประเมินคุณภาพ
น้อย 1 ครั้ง การศึกษานี้ได้รับการอนุมัติจากคณะ ชีวิตด้านสุขภาพ (EQ-5D-5L) ฉบับภาษาไทย ของ
กรรมการวิจัยในมนุษย์ของโรงพยาบาลเจ้าพระยา EuroQol Group แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกคือ
อภัยภูเบศร (IRB-BHUBEJHR-155) แบบประเมินด้านคะแนนอรรถประโยชน์ ประกอบ
การศึกษานี้เก็บข้อมูล 4 ด้าน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ด้วย 5 คำาถาม ได้แก่ การเคลื่อนไหว การดูแลตนเอง
้
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ได้แก่ เพศ อายุ ค่าดัชนีมวล (อาบนำา หรือใส่เสื้อผ้าด้วยตนเอง) กิจกรรมที่ทำาเป็น
กาย ธาตุเจ้าเรือน โรคประจำาตัว และระยะเวลาที่มี ประจำา (เช่น ทำางาน เรียนหนังสือ ทำางานบ้าน กิจกรรม
อาการนอนไม่หลับ ส่วนที่ 2 คุณภาพการนอนหลับ ในครอบครัว หรือกิจกรรมยามว่าง) อาการเจ็บปวด/
โดยใช้แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ Pitts- อาการไม่สบายตัว และความวิตกกังวล/ความซึมเศร้า
burgh Sleep Quality Index (PSQI) ฉบับภาษา แต่ละด้านมีคำาตอบให้เลือก 5 ระดับเรียงตามระดับ
ไทย ซึ่งพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องด้านภาษา ความรุนแรง ตั้งแต่ไม่มีปัญหาจนถึงมีปัญหามากที่สุด
และความเที่ยงตรง โดยธนิตพงศ์ เมธีพิสิษฐ์ และ และส่วนที่ 2 แบบประเมินสภาวะสุขภาพทางตรง (vi-
คณะ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ (9 คำาถาม) ได้แก่ sual analog scale: VAS) มีตั้งแต่ 0 ถึง 100 โดย 0
คุณภาพการนอนหลับเชิงอัตนัย (subjective sleep หมายถึง สุขภาพที่แย่ที่สุด และ 100 หมายถึงสุขภาพ
quality) ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ ที่ดีที่สุด และผลการเปลี่ยนแปลงอาการด้านอื่นของ
[13]
(sleep latency) ระยะเวลาของการนอนหลับ (sleep ผู้ป่วยหลังใช้ยา โดยสืบค้นจากเวชระเบียนผู้ป่วย
duration) ประสิทธิภาพของการนอนหลับโดยปกติ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ นำาเสนอความถี่และร้อย
วิสัย (habitual sleep efficiency) การรบกวนการ ละของข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ได้แก่ เพศ อายุ ค่าดัชนี
นอนหลับ (sleep disturbance) การใช้ยานอนหลับ มวลกาย ลักษณะธาตุเจ้าเรือน โรคประจำาตัว และ
(use of sleeping medication) และผลกระทบต่อ อาการไม่พึงประสงค์ วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย
การทำากิจกรรมในเวลากลางวัน (daytime dysfunc- คะแนนคุณภาพการนอนหลับและคะแนนคุณภาพ
tion) มีคะแนนรวมตั้งแต่ 0-21 คะแนน หากคะแนน ชีวิตด้านสุขภาพก่อนและหลังการรักษาในแต่ละครั้ง
รวมมากกว่า 5 คะแนนขึ้นไป หมายถึง มีคุณภาพการ โดยใช้สถิติ Wilcoxon signed ranks test ส่วน
นอนหลับที่ไม่ดี ส่วนที่ 3 ความปลอดภัยของการ อาการไม่พึงประสงค์แสดงด้วยค่าร้อยละ
[12]