Page 103 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 103
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 333
การนอนหลับ มีการบันทึกในหนังสือแพทย์ตำาบล ซึ่ง ใบกัญชาผสมอยู่ร้อยละ 15.38 ดังระบุในคัมภีร์ธาตุ
เป็นตำาราหมอประจำาบ้านในสมัยรัชกาลที่ 6 ว่า “กัญชา พระนารายณ์ ดังนี้ “ยาศุขไสยาศน์ ให้เอา การบูร 1
มีรสเมา ทำาให้ใจขลาด รับประทานน้อย ๆ เป็นยา ส่วน ใบสเดา 2 ส่วน สหัสคุณเทศ 3 ส่วน สมุลแว้ง
[6]
ชูกำาลัง เจริญอาหาร’’ ในหนังสือประมวลสรรพคุณ 4 ส่วน เทียนดำา 5 ส่วน โกศกระดูก 6 ส่วน ลูกจันทน์
ยาไทยว่า “กัญชา ปรุงเป็นยารับประทานทำาให้ง่วงนอน 7 ส่วน ดอกบุนนาค 8 ส่วน พริกไท 9 ส่วน ขิงแห้ง
นอนหลับได้มาก อยากอาหาร มันเมา รับประทาน 10 ส่วน ดีปลี 11 ส่วน ใบกัญชา 12 ส่วน ทำาเปนจุณ
้
ได้ นอนหลับ แต่เป็นยาเสพติดให้โทษ ไม่ควรใช้เป็น ละลายนำาผึ้ง เมื่อจะกินเศกด้วยสัพพีตีโย 3 จบ แล้ว
[7]
นิจสิน’’ ซึ่งมีรายงานการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผล กิน พอควร แก้สรรพโรคทั้งปวง โรคทั้งปวงหายสิ้น
ของกัญชาในการช่วยการนอนหลับอยู่บ้าง แต่ยังขาด มีกำาลังกินเข้าได้ นอนเป็นศุขนักแลฯ’’ โดยแพทย์
[11]
หลักฐานทางวิชาการอีกพอสมควร โดยเฉพาะการ แผนไทยเป็นผู้พิจารณาจ่ายให้ผู้ป่วยที่มีปัญหานอน
ใช้สาร tetrahydrocannabinol (THC) ซึ่งเป็นองค์ ไม่หลับเรื้อรัง ที่เคยได้รับการรักษามาตรฐานแล้ว
ประกอบที่มีในสัดส่วนที่สูงกว่า cannabidiol (CBD) ไม่ได้ผล และผ่านการคัดกรองตามเกณฑ์การรักษา
ในกัญชาไทย สำาหรับบรรเทาอาการนอนไม่หลับ ผู้ป่วยในคลินิกกัญชาตามแนวเวชปฏิบัติของกรมการ
[8]
จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
พบว่า กัญชาอาจลดระยะเวลาตั้งแต่การเข้านอนจน อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลและ
กระทั่งหลับ (sleep latency) ได้ แต่อาจมีผลรบกวน ความปลอดภัยของยานี้ยังมีไม่เพียงพอ เนื่องจาก
การนอนหลับในระยะยาว ขณะที่ CBD น่าจะมีส่วน กัญชาถูกจัดให้เป็นยาเสพติดประเภท 5 ที่ห้ามเสพมา
[9]
ช่วยในการรักษาอาการนอนไม่หลับ และมีการ นานกว่า 60 ปี ทำาให้ขาดประสบการณ์การใช้ จึงจำาเป็น
ทบทวนวรรณกรรมพบว่า การใช้แคนนาบินอยด์ใน ที่ต้องมีการศึกษาวิจัยข้อมูลเพิ่มเติมอย่างเป็นระบบ
การรักษาโรค ช่วยปรับให้ผู้ป่วยนอนหลับได้ดีขึ้น ซึ่ง การศึกษานี้จึงได้รวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโรคนอนไม่หลับ
เป็นผลลัพธ์การรักษารอง (secondary outcome) เรื้อรัง ที่มารับการรักษาที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์
โดยหลายการศึกษาระบุว่าแคนาบินอยด์สามารถช่วย แผนไทย โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ด้วย
เพิ่มคุณภาพการนอนได้ ลดการถูกรบกวนการนอน ตำารับยา “ศุขไสยาศน์’’ ขึ้น และนำาข้อมูลมาวิเคราะห์
หลับ และทำาให้ระยะเวลาเข้าสู่การนอนหลับ (sleep เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัย อันจะ
latency) ลดลง อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องมีการศึกษา เป็นการส่งเสริมให้มีการใช้ยาตำารับที่มีกัญชาเป็นส่วน
เพิ่มเติม โดยเฉพาะสัดส่วนของ THC ต่อ CBD ที่ ประกอบอย่างเหมาะสมและปลอดภัยต่อไป
เหมาะสมที่ช่วยในการนอนหลับ [10]
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้เปิดให้ ระเบียบวิธีศึกษ�
บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ตั้งแต่ การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง (retrospec-
เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 มีการตรวจรักษาและจ่าย tive study) โดยสืบค้นเวชระเบียนผู้ป่วยที่มารักษา
ยาตำารับ “ศุขไสยาศน์’’ ซึ่งเป็นตำารับยาที่มีกัญชา ที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาล
ปรุงผสมอยู่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ มี เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี โดยคัดเลือก