Page 138 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 138

570 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




                                                                                  [9]
           ผิวหนัง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด (x    งานวิจัยของนันทวัลย์ มิตรประทาน ที่พบว่า การรับ
           = 4.57) และเป็นเนื้อครีมละเอียดไม่แยกชั้นในระดับ  รู้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ นิตยสาร

           มาก (x = 4.37) และจากการศึกษาจะเห็นได้ว่า ด้าน  การเปรียบเทียบความเหมาะสมของราคาผลิตภัณฑ์
           ที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์น้อยที่สุด คือ   มีผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
           ด้านคุณลักษณะ (x = 4.23) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ      และจากผลการทดลองฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

           พบว่า ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดแกน  ด้วยวิธี DPPH radical scavenging ที่สกัดด้วย
           สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง มีสีที่เหมาะสมสำาหรับการ  ตัวทำาละลายเอทานอล 95% และสกัดด้วยน้ำา พบว่า
           ใช้งานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด (x =   สารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองที่สกัดด้วย

           4.50) และกลิ่นที่พึงประสงค์เหมาะสำาหรับการใช้งาน  ตัวทำาละลายเอทานอล 95% มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
           ในระดับมาก (x = 3.97)                       ดีที่สุด เนื่องจากตัวทำาละลายมีความเหมาะสมกับ
                                                       คุณสมบัติของสาระสำาคัญกับตัวอย่างพืช ซึ่งพบว่า
                         อภิปร�ยผล                     สอดคล้องกับงานวิจัยของวรพร ศีลศร และคณะ  ที่
                                                                                           [10]
                จากการวิเคราะห์สถานการณ์การใช้พัฒนา    กล่าวไว้ว่า สารสกัดที่ได้จากการสกัดด้วยตัวทำาละลาย

           ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดแกน      แอลกอฮอล์ที่มีขั้วค่อนข้างสูงนั้น จะมีประสิทธิภาพ
           สับปะรดพันธุ์ตราดสีทองในปัจจุบัน โดยการสนทนา  ในการดึงสารสำาคัญในพืชออกมาได้ดี และมีแนว
           กลุ่มกับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์  โน้มที่ทำาให้มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดี และเมื่อเปรียบ

           และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัดนนทบุรีจำานวน   เทียบกับสารมาตรฐาน ascorbic acid พบว่า สาร
           8 คนนั้น จากการสนทนากลุ่มในประเด็นที่ 1-5 เห็น  มาตรฐาน ascorbic acid มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิด

           ได้ว่าจะมีทั้งกลุ่มที่เคยใช้และไม่เคยผลิตภัณฑ์ครีม  DPPH radical scavenging ดีกว่าสารสกัดจากแกน
           ทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดธรรมชาติและจากสาร     สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง ซึ่งจากผลการศึกษาสามารถ
           สังเคราะห์ ซึ่งจะพบว่าทั้งสองกลุ่มมีความต้องการใช้  บ่งบอกได้ว่าถึงจะเป็นส่วนของแกนสับปะรดเหมือน

           ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดธรรมชาติ   กันแต่ ต่างตัวทำาละลายฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระย่อมแตก
           เนื่องจากหลีกเลี่ยงผลที่ตามมาจากสารเคมีสังเคราะห์   ต่างกัน และจะเห็นได้ผลของร้อยละผลผลิต %yield
           และต้องการให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ  ก็แตกต่างกัน ฉะนั้นคุณภาพของตัวทำาละลายมีความ

           ช่วยปรับสมดุล ปกป้องผิวจากความแห้งกร้าน ช่วย  สำาคัญเป็นอย่างยิ่ง และสับปะรดมีสารกลุ่มฟีนอลิก
           รักษาความชุ่มชื้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสุเมธ   (phenolic compound) ที่ประกอบด้วยสาร กลุ่มย่อย
                        [8]
           สุทธิ์ประเสริฐพร  ที่กล่าวไว้ว่า ปัจจัยด้านคุณภาพ  อาทิ วิตามินซี และเบตาแคโรทีน ซึ่งเป็นสารสำาคัญที่ได้
           ของผลิตภัณฑ์และคุณค่าของผลิตภัณฑ์ มีผลต่อ   จากส่วนต่าง ๆ ของสับปะรด ได้แก่ เนื้อ ผล แกน และ
                                                                                         [11]
           การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ และจากการสนทนากลุ่มยัง  เปลือก ที่มีบทบาทเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ  และ
           พบว่า ด้านการประชาสัมพันธ์ การโฆษณาตามสื่อ  พบว่าพืชที่มีปริมาณรวมของฟีนอลิกสูงจะมีฤทธิ์ต้าน
           ต่าง ๆ ราคาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยสำาคัญในการตัดสินใจ  อนุมูลอิสระสูงเช่นกัน  และจากการศึกษาฤทธิ์การ
                                                                        [4]
           ซื้อผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตก ซึ่งสอดคล้องกับ  ต้านอนุมูลอิสระชนิด DPPH radical scavenging
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143