Page 134 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 134

566 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563





           ก�รตรวจสอบเครื่องมือ                                     ผลก�รศึกษ�

                การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา (con-

           tent validity) นำาแบบสอบถามปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ  1. วิเคร�ะห์สถ�นก�รณ์ก�รใช้ผลิตภัณฑ์ครีม
           จำานวน 3 ท่าน ได้แก่ แพทย์แผนไทย เภสัชกร ผู้  ท�ส้นเท้�แตกจ�กส�รสกัดแกนสับปะรดพันธุ์
           เชี่ยวชาญด้านงานวิจัย เป็นผู้มีประสบการณ์และ  ตร�ดสีทอง ในปัจจุบัน

           เชี่ยวชาญด้านการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการ     ประเด็นที่ 1 สถานการณ์และปัญหาของการใช้
           พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านงานวิจัย โดยใช้สูตร IOC ซึ่งค่า   ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดธรรมชาติ

           IOC มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่าข้อคำาถาม  และจากสารสังเคราะห์ในปัจจุบัน พบว่า ปัจจุบัน
           นั้นใช้ได้ โดยมีค่าดัชนีความตรงของเนื้อหา (Content   การใช้ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัด
                            [7]
           Validity Index: CVI) CVI = 0.88             ธรรมชาติได้รับความนิยมมากกว่าผลิตภัณฑ์ครีม
                การหาความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (reliability)   ทาส้นเท้าแตกจากสารสังเคราะห์ เนื่องจากมีความ
           โดยการนำาแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปทดลอง    ปลอดภัยจากสารเคมีและมีผลข้างเคียงน้อยกว่า ซึ่ง

           ใช้ (try out) กับกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่ม  จะพบการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวในเพศหญิงช่วงวัย
           ตัวอย่าง จำานวน 30 คน แต่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ   ทำางานเป็นส่วนใหญ่ และพบว่าผลิตภัณฑ์ครีมทาส้น
           และนำาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของ  เท้าแตกจากสารสกัดธรรมชาติค่อนข้างมีราคาแพง

           แบบทดสอบนำามาประมวลผล หาค่าสัมประสิทธิ์สห   อีกทั้งตามท้องตลาดผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตก
           สัมพันธ์แอลฟาครอนบาค (cronbrach alpha coef-  จากสารสกัดธรรมชาติมีค่อนข้างน้อย ทั้งยังไม่ค่อย
           ficient) เท่ากับ 0.92 ซึ่งเป็นค่าที่เชื่อถือได้ สามารถนำา  มีการโฆษณาตามสื่อต่าง ๆ ให้ผู้บริโภครับรู้ และจาก

           แบบสอบถามไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจริงต่อไป     กลุ่มผู้เคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสาร
                                                       สังเคราะห์ พบปัญหา คือ เนื้อครีมมีลักษณะ สีขาว
           วิเคร�ะห์ข้อมูล                             หยาบ ๆ ผลิตภัณฑ์ครีมมีกลิ่นฉุน ส้นเท้ามีความนุ่ม

                1.  วิเคราะห์ผลการอภิปรายกลุ่ม โดยการ  เพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสาร
           วิเคราะห์เนื้อหา                            สกัดธรรมชาติ ทำาให้ส้นเท้ามีความนุ่มมากขึ้น กลิ่น

                2.  ประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ทาง      หอม ชวนน่าใช้แต่ทั้งสองแบบพบว่าช่วยลดรอยแตก
           เคมี ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัด    ของส้นเท้าได้ไม่มากเท่าที่ควร
           แกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง วิเคราะห์ข้อมูลเชิง     ประเด็นที่ 2 ปัจจัยสำาคัญในการตัดสินใจ

           คุณลักษณะ                                   ซื้อผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตก ประกอบไปด้วย
                3.  ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อ  คุณภาพทางด้านบรรจุภัณฑ์ สวยงาม น่าชวนใช้ พก

           การใช้ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดแกน  พาสะดวก คุณภาพด้านผลิตภัณฑ์ ส่วนผสมของ
           สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา  ตำารับครีม ตัวครีมมีกลิ่นหอมธรรมชาติ ซึมสู่ผิวหนัง
           ค่าเฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)  ง่าย แห้งเร็ว ไม่เหนียวเหนอะ ไม่มันเกินไป ทำาความ
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139