Page 133 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 133
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 565
ตารางที่ 1 อัตราส่วนของสูตรตำารับครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง
ส่วนผสม สูตร 1 (%) สูตร 2 (%) สูตร 3 (%) สูตร 4 (%)
1. Cholesterol 2.00 3.00 4.00 5.00
2. Palmitamide MEA 5.00 5.00 5.00 5.00
3. Ceramide 2 / Ceramide NG 3.00 3.00 3.00 3.00
4. Ezerrawax™ 5.00 5.00 5.00 5.00
5. Soft Cream Maker™ 4.00 4.00 4.00 4.00
6. PPG-3 Myristyl Ether 3.00 3.00 3.00 3.00
7. Phytosphingosine 1.00 1.00 1.00 1.00
8. Pineapple Extract 3 3 3 3
9. Glycyrrhetinic acid 0.50 0.50 0.50 0.50
10. Panthenol (Pro Vitamin B5) 3.00 3.00 3.00 3.00
11. Double Hyaluron Liquid 5.00 5.00 5.00 5.00
12. Mild Preserved Eco™ (Ethylhexylglycerin) 1.00 1.00 1.00 1.00
13. Safe-B3™ (Vitamin B3, Niacinamide) 7.00 8.00 6.00 5.00
14. Glycerin 99.5% 8.00 7.00 5.00 6.00
15. ClayThick Ready™ (Cream Stabilizer) 3.00 2.00 4.00 5.00
16. Phospholipid 4.00 4.00 5.00 3.00
้
17. นำากลั่น ปราศจากเชื้อ 44.40 44.40 44.40 44.40
18. Allantoin 0.10 0.10 0.10 0.10
รวม 100 100 100 100
้
สับปะรดพันธุ์ตราดสีทอง โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเภสัช พันธุ์ตราดสีทอง นำาหนัก 15 กรัม ในบรรจุภัณฑ์แบบ
ภัณฑ์ จำานวน 3 ท่านประกอบด้วย ด้านลักษณะ หลอด
ภายนอกของครีม ได้แก่ ลักษณะเนื้อครีม สี กลิ่น ด้าน วิธีการศึกษา
คุณสมบัติทางเคมี ได้แก่ การไหลของครีม การเจริญ ชี้แจงรายละเอียดการใช้ผลิตภัณฑ์ครีมทา
ของจุลินทรีย์และเชื้อรา การเกิด creaming cracking ส้นเท้าแตกจากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสี
ความเป็นกรด-ด่าง ความคงตัว ได้แก่ การซึมซาบเข้า ทองและการปฏิบัติตัวหากเกิดอาการแพ้ ให้กับกลุ่ม
สู่ผิวหนัง ความเหนอะหนะสูตรตำารับครีม เมื่อเตรียม ตัวอย่าง โดยบีบออกมาในปริมาณที่พอเหมาะ ลูบไล้
เสร็จใหม่ ๆ และสูตรตำารับครีมหลังการทดสอบความ ให้ทั่วส้นเท้าบริเวณที่แตกโดยใช้เป็นเวลา 1 สัปดาห์
คงตัวโดยวิธี heating cooling 6 cycle เช้า–เย็น
4. นำาผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากแกน 5. ประเมินความพึงพอใจ โดยกำาหนดลักษณะ
สับปะรดพันธุ์ตราดสีทองไปใช้ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
วัสดุ
ผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากแกนสับปะรด