Page 136 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 136
568 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
พันธุ์ตราดสีทองที่สกัดด้วยตัวทำาละลายเอทานอล อิสระชนิด DPPH radical scavenging ดีกว่าสาร
95% และสารสกัดจากแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสี สกัดจากแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองที่สกัดด้วย
้
้
ทองที่สกัดด้วยนำา พบว่ามีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระแตก เอทานอล 95% และนำา ที่ค่า IC เท่ากับ 0.70 ± 0.09
50
ต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเมื่อ ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติระดับ 0.05 ดัง
เปรียบเทียบด้วยสารมาตรฐาน ascorbic acid พบ ตารางที่ 3 และ 4
ว่า สารมาตรฐาน ascorbic acid มีฤทธิ์ต้านอนุมูล สารสกัดแกนสับปะรดที่สกัดด้วยตัวทำาละลาย
ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบความแตกต่างของฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิด DPPH จากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราด
้
สีทองที่สกัดด้วยตัวทำาละลายเอทานอล 95% นำา และสารมาตรฐาน Ascorbic acid
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัด Df SS MS F Sig.
ระหว่างกลุ่ม 4 3183035.377 795758.844 2.956 .000*
ภายในกลุ่ม 20 .000 .000
รวม 24 3183035.377
*มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
หมายเหตุ Df คือ ชั้นแห่งความอิสระ
SS คือ ผลบวกของส่วนเบี่ยงเบนกำาลังสอง
MS คือ ค่าความแปรปรวน
F คือ ค่าการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม
Sig. คือ ค่าความน่าจะเป็นของความมีนัยสำาคัญ
ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบความแตกต่างของฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชนิด DPPH จากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราด
้
สีทอง ในตัวทำาละลายเอทานอล 95% นำา และสารมาตรฐาน Ascorbic acid โดยเปรียบเทียบรายคู่ (n = 5)
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัด (IC ± S.D.) (1) (2) (3)
50
( µg/ml)
สารสกัดแกนสับปะรดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% 968.39 ± 0.06 13.80* 967.69*
(.000) (.000)
้
สารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองที่สกัดด้วยนำา 982.19 ± 0.08 13.80* 981.49*
(.000) (.000)
สารมาตรฐาน Ascorbic acid 0.70 ± 0.09 967.69* 981.49*
(.000) (.000)
*มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
หมายเหตุ (1) สารสกัดแกนสับปะรดที่สกัดด้วยเอทานอล 95%
้
(2) สารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองที่สกัดด้วยนำา
(3) สารมาตรฐาน Ascorbic acid