Page 130 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 130

562 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           กลุ่มสารต้านอนุมูลอิสระ เนื่องจากสารกลุ่มนี้จะช่วย  วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข
           ในการเพิ่มความชุ่มชื้นของชั้นผิวที่มีปัญหาแตกหรือ  กาญจนาภิเษก เลขที่ KMPHT-61010008

                               [3]
           หยาบกร้านได้เป็นอย่างดี  และสับปะรด Ananas
           comosus (L.) Merr. อยู่ในวงศ์ Bromeliaceae เป็น  ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง
           ผลไม้ชนิดหนึ่ง ที่อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ มี     ประชากร คือ บุคลากรในวิทยาลัยเทคโนโลยี

           บทบาทสำาคัญในการช่วยสมานบาดแผล และช่วยเพิ่ม  ทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัด
           ฤทธิ์การสร้างคอลลาเจนในเซลล์ไฟโบรบลาสต์ ซึ่ง  นนทบุรี จำานวน 108 คน
                                                                         [6]
           สารที่มีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างคอลลาเจนจะเป็นสารที่มี     กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็น 2

           ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน  ในปัจจุบันยังพบว่าได้มีการนำา  กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ใช้วิเคราะห์สถานการณ์การใช้
                           [4]
           แกนสับปะรดมาใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์   ผลิตภัณฑ์ครีมบำารุงมือจากสารสกัดแกนสับปะรด
           เวชสำาอางประเภท ครีมลดริ้วลอยชะลอความแก่    พันธุ์ตราดสีทองในปัจจุบัน จำานวน 8 คน โดยการ

           เนื่องจากสับปะรดมี Alpha Hydroxy Acid ที่ทำาให้  อภิปรายกลุ่ม (focus group discussion) กลุ่มที่ 2 เป็น
           ผิวดูละเอียดขึ้น ร่องรอยที่เกิดจากผิวหยาบจางลง ผิว  กลุ่มทดลองใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ จำานวน 30 คน โดย

           เต่งตึงขึ้น ริ้วรอยเหี่ยวย่นลดลงได้ อีกทั้งยังช่วยเติม  กำาหนดคุณสมบัติกลุ่มตัวอย่างดังต่อไปนี้
                              [5]
           ความชุ่มชื้นของชั้นผิวได้                       เกณฑ์การคัดเข้า
                ทีมผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดในการศึกษาฤทธิ์ต้าน     1. ไม่จำากัด อายุ การศึกษา อาชีพการทำางาน

           อนุมูลอิสระ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้า      2. มีส้นเท้าแตกแห้ง
           แตก จากสารสกัดแกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองซึ่ง     3. ไม่มีแผลเปิดบริเวณส้นเท้า

           ครีมบำารุงประเภทนี้มีส่วนผสมที่ช่วยปรับโครงสร้าง     4. ไม่เป็นโรคผิวหนัง
           เซลล์ผิวให้สามารถเก็บกักน้ำาหล่อเลี้ยงผิวได้ดี เพื่อ     5. ไม่มีประวัติการแพ้สมุนไพร และสารเคมี
           เพิ่มความชุ่มชื้นของชั้นผิว ที่มีปัญหาแตกหรือหยาบ  แอลกอฮอล์

           กร้าน อีกทั้งวิจัยนี้ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของสับปะรด     6. ผู้เข้าร่วมวิจัยยินดีให้ความร่วมมือในการ
           พันธุ์ตราดสีทองและเป็นการใช้ประโยชน์ในส่วนเหลือ  ทดสอบผลิตภัณฑ์ครีมทาส้นเท้าแตกจากสารสกัด
           ทิ้งให้เกิดประโยชน์ต่อไป                    แกนสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองและร่วมกิจกรรมอื่น ๆ

                                                       ตามกระบวนการวิจัยครบทุกกิจกรรม
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                    เกณฑ์การคัดออก

                เป็นการศึกษาในรูปแบบการวิจัยและพัฒนา       1. ผู้เข้าร่วมวิจัยเกิดเหตุสุดวิสัยที่ทำาให้ไม่

           ดำาเนินการศึกษาวิจัยระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561   สามารถเข้าร่วมทดลองต่อได้ เช่น เกิดการบาดเจ็บ มี
           ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยี  อาการเจ็บป่วย

           ทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก จังหวัด     2. ผู้เข้าร่วมวิจัยรับการรักษาอาการส้นเท้าแตก
           นนทบุรี โดยการศึกษาครั้งนี้ผ่านการพิจารณาจาก  ด้วยวิธีอื่นร่วมด้วย เช่น การรักษาโดยใช้ครีม หรือ
           คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของ       เวชสำาอางของทางโรงพยาบาล
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135