Page 142 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 142

364 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           คําถามในการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้าด้วยคําถามปลาย  นี้เกี่ยวข้องกับเจลล้างหน้าที่มีส่วนผสมของถ่านซัง
                                                                                              ้
           เปิด เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เสนอความคิดเห็นได้อย่าง  ข้าวโพด ประกอบด้วย ถ่านซังข้าวโพด 1.50% นํา
           เต็มที่และได้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงมากที่สุด   (water) 50.00% พรอพพีลีนกลัยคอล (propylene
                                                       glycol) 5.00% อะมิโนโค้ต (amino coat) 2.00%
           ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล                          ไมริสติกเอซิด (myristic acid) 10.00% สเตียริคเอ


                1.  วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย การหา  ซิดทริปเปิ้ล (stearic acid tripple) 5.00% คูทิน่า
           ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   เอจีเอชที (cutina AGHT) 2.00% โซฮาเทอริค ดีทู
                2.  นําผลที่ได้จากการสัมภาษณ์และการสนทนา  (zohatoric D-2) 16.00% คอมเพอเลน เคดี (com-

           กลุ่ม มาทําการวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์ สรุปข้อมูล  perlan KD) 5.00% ไตรทาโนลาไมด์ (TEA : trietha-
           เพื่อนําไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านใน   nolamine) 0.50% ไกลแดนท์ พลัส (glydant plus)
           7 จังหวัด 7 ผลิตภัณฑ์                       0.30% วิตามินบี 3 (vitamin B3) 0.30% วิตามินอี

                                                       (vitamin E) 0.40% สารสกัดแตงกวา (cucumber
                         ผลก�รศึกษ�                    extract) 1.00% สารสกัดชะเอมเทศ (licorice ex-


                การศึกษานี้มีผลการศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ   tract) 1.00%
           1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแล     1.2 จังหวัดสุโขทัย ได้นําทรัพยากรจากเมล็ด
           สุขภาพ และ 2) อธิบายความต้องการและความพึง   สําโรงมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ครีมหมักผม ที่มี

           พอใจของผู้รับบริการเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์  ประสิทธิผลในการบํารุงเส้นผมและหนังศีรษะและ
                                                                                     ้
           ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ            เป็นการต่อยอดนวัตกรรมการผลิตนํามันจากลูก
                ส่วนที่ 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญา   สําโรงให้มีมูลค่าสูงและเก็บรักษาคุณสมบัติได้นานขึ้น

           พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ  การวิจัยได้นํา     ซึ่งผู้บริโภคยุคปัจจุบันหันมาใส่ใจสุขภาพของเส้นผม
           ทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตการเกษตรและสมุนไพร   มากยิ่งขึ้น โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติในการ

           ต่าง ๆ ในท้องถิ่นนํามาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์  ดูแลเส้นผม มีการนําสารสกัดสมุนไพรมาเป็นส่วน
           จากภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพในพื้นที่ 7   ผสมในผลิตภัณฑ์แชมพูและครีมหมักผม ซึ่งสาร
           จังหวัด ซึ่งประกอบด้วย                      สกัดสมุนไพรดังกล่าวนั้นมีคุณสมบัติในการทําความ

                1.1 จังหวัดพิษณุโลก ได้นําทรัพยากรถ่าน  สะอาดและบํารุงเส้นผมและช่วยเพิ่มกลิ่นหอมตาม
           ซังข้าวโพดมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เจลล้างหน้า ที่  ชนิดของสมุนไพรที่นํามาใช้ในผลิตภัณฑ์อีกด้วย การ
           มีประสิทธิผลในการชําระล้างสิ่งตกค้างและฝังแน่น  พัฒนาผลิตภัณฑ์นี้เกี่ยวข้องกับโคลนหมักผมที่มีส่วน
                                                               ้
                                                                                       ้
           บนใบหน้า รวมถึงล้างเครื่องสําอางได้อย่างสะอาด  ผสมของนํามันลูกสําโรง ประกอบด้วย นํามันสําโรง
                                                                                    ้
           หมดจด โดยไม่ทําให้ผิวหน้าแห้งตึงและเป็นการ  (Sterculia foetida L. oil) 1.00% นํา (DI-water)
           บํารุงผิวหน้าไปในตัวขณะล้างหน้า เป็นการต่อยอด  57.20% คาโค 6098 (caco 6098) 15.00% รินซ์ คอม
           นวัตกรรมการผลิตถ่านซังข้าวโพดให้มีมูลค่าสูงและ  พาวด์ (rins compound) 5.00% กรดมะนาว (citric
           เก็บรักษาคุณสมบัติได้นานขึ้น การพัฒนาผลิตภัณฑ์  acid) 0.30% ซิลิวอเตอร์ (siliwater) 2.00% ไอโซ
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147