Page 121 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 121
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 343
ในการรักษาพระอาการประชวรของเจ้านายไม่ระบุว่า วันอังคาร ขึ้น 12 คำ่า เดือน 10
เป็นพระองค์ใด เวลาโมงเช้า บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนักเป็น
สภาพของเอกสาร: เอกสารชำารุดขาดตรง พระเสมหะเปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง
ขอบทางด้านซ้ายจากการถูกแมลงกัดทำาลายทำาให้ เวลาโมงเช้า เสวยพระโอสถทรงปัด แล้วบรรทม
เนื้อความของเอกสารช่วงด้านข้างซ้ายตกหล่นขาด หลับ
หายไป เช้า 2 โมงครึ่ง บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนัก
ต้นฉบับตัวเขียนจดหมายเหตุพระอาการไข้ เป็นมูลโคตั้งกองมีเสมหะน้อย 1 ครั้ง
ไม่ทราบพระองค์ใด เป็นสมุดไทยเขียนด้วยดินสอ เช้า 3 โมงครึ่ง ไปพระบังคลหนักเป็นองค์มี
สันนิษฐานว่าบันทึกขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เนื่องจาก เสมหะน้อย เสวยพระอาหารสวยถ้วยฝาขนาดน้อย
จัดอยู่ในหมวดจดหมายเหตุรัชกาลที่ 5 และปรากฏ กล้วยหักมุกเผา 2 องค์
่
วันเดือนปีที่บันทึก เป็นวันอังคาร ขึ้น 12 คำา เดือน เที่ยง เสวยพระโอสถทิพโอสถ
10 ซึ่งในสมัยที่รัชกาลที่ 5 ทรงครองราชย์คือตั้งแต่ บ่ายโมง ไปพระบังคลหนักเป็นองค์มีพระ
ปี พ.ศ. 2411-พ.ศ. 2453 เมื่อตรวจสอบกับปฏิทิน เสมหะน้อย 1 ครั้ง
100 ปี แล้วเป็นไปได้ 2 วัน คือ วันอังคารที่ 6 เดือน บ่าย 2 โมง ปรอท 99 บรรทมหลับ
กันยายน พ.ศ. 2413 และวันอังคารที่ 22 กันยายน บ่าย 3 โมง บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนักเป็น
พ.ศ. 2417 และข้อความที่ปรากฏในเอกสารเขียน พระเสมหะเปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง
[3]
ด้วยตัวอักษรไทย ภาษาไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ รูป บ่าย_โมง ไปพระบังคลหนัก เป็นพระเสมหะ
อักษรที่ปรากฏจึงมีลักษณะที่แตกต่างจากรูปอักษร เปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง เสวยพระโอสถ
และอักขรวิธีในปัจจุบันเนื่องจากคนเขียนในสมัย แดงทับทิม บรรทมหลับ
โบราณมีลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์ของตนเองใน ทุ่มหนึ่ง บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนักเป็นพระ
แต่ละคน เป็นยุคสมัยที่การศึกษาอักษรและภาษาไทย เสมหะเปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง เสวยพระ
ของคนไทยยังไม่มีการประกาศใช้พจนานุกรม ใน อาหารสวยถ้วยฝาขนาดน้อย กล้วยกลั่น 2 องค์
[4]
เอกสารจดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ ทุ่มครึ่ง ไปพระบังคลหนักเป็นพระเสมหะเปลว
ใด จึงพบการสะกดคำาตามเสียงที่ได้ยิน เช่น คำาว่า มีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง
บันทม พระบังคน ซึ่งคำาที่เขียนตามเสียงเหล่านี้ความ 3 ทุ่มครึ่ง ไปพระบังคลหนักเป็นพระเสมหะมี
หมายเหมือนกันเพียงแต่สะกดต่างกัน รวมถึงการใส่ สายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง
วรรณยุกต์ ในเอกสารโบราณสมัยก่อนยังบันทึกตาม 4 ทุ่ม บรรทมหลับ
เสียงอ่านจึงต้องทำาความเข้าใจความหมายและบริบท 5 ทุ่มครึ่ง บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนักเป็น
ของคำานั้นเพื่อให้ได้ข้อความที่ถูกต้องที่สุด พระเสมหะเปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง บรรทม
1.2 คำาถ่ายถอดเป็นภาษาไทยปัจจุบัน จดหมาย หลับ
เหตุรัชการที่ 5 เรื่อง พระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ 1 ยาม บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนักเป็นพระ
ใด เสมหะเปลวมีสายพระโลหิตน้อย ๆ 1 ครั้ง เสวยพระ