Page 70 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 70

420 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




                        [2]
           แก้เจ็บคอ แก้ไอ  ธาตุวัตถุ ได้แก่ เกล็ดสะระแหน่   flavonoids และอนุพันธ์ เช่น จากดอกกานพลู พบ
           ทาบรรเทาอาการจากแมลงกัดต่อย และการบูร ใช้แก้  สาร kaempferol, สาร quercetin  จากรากชะเอม
                                                                                  [6]
           เคล็ดบวม ขับลม กระตุ้นหัวใจอย่างอ่อน  โดยมีสูตร  เทศ พบสาร isoliquiritigenin, สาร isoliquiritin,
                                          [3]
                       ้
                                                                                 [7]
           ตำารับดังนี้ ยานำา 100 มิลลิลิตร ประกอบด้วย เปลือก  สาร liquiritigenin, สาร liquiritin  สารกลุ่ม terpe-
           อบเชยเทศ เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ดอกกานพลู   noids และอนุพันธ์ เช่น จากเปลือกสมุลแว้ง พบสาร
           และรากชะเอมเทศ อย่างละ 800 มิลลิกรัม ส่วนเกล็ด  a-terpineol, สาร linalool  ผลกระวาน พบสาร b-
                                                                           [8]
           สะระแหน่ และการบูร อย่างละ 50 มิลลิกรัม     pinene, สาร 1,8-cineole  และในรากชะเอมเทศพบ
                                                                          [9]
                                                                                       [7]
                จากการศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัย    สาร glycyrrhizin, สาร glycyrrhetic acid  เป็นต้น
           ของยาธาตุอบเชยของโรงพยาบาลชุมชน 6 แห่งเพื่อ     ตำารับยาธาตุอบเชยก็เช่นเดียวกับตำารับยาแผน-
           รักษาอาการจุกแน่นหลังมื้ออาหาร เรอบ่อย และแสบ  ไทยส่วนใหญ่นั่นคือยังขาดวิธีควบคุมคุณภาพ ทำาให้
           ร้อนที่ลิ้นปี่ในผู้ป่วย functional dyspepsia ซึ่ง  ยาที่ผลิตแต่ละครั้งมีปริมาณสารสำาคัญแตกต่างกัน

           เป็นภาวะผิดปกติของทางเดินอาหารส่วนบนระหว่าง  ส่งผลถึงการออกฤทธิ์ของยา ดังนั้นเพื่อสร้างเชื่อมั่น
           กระเพาะอาหารและลำาไส้เล็กส่วนต้นโดยไม่ทราบ  และความปลอดภัยในการใช้ตำารับยาไทยให้แก่ผู้

           สาเหตุ ทดลองแบบสุ่มในผู้ป่วย 318 ราย เป็นเวลา   บริโภค การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์
           14 วัน โดยกลุ่มหนึ่งได้รับยาธาตุอบเชย 30 มิลลิลิตร   คุณภาพทางเคมีของตำารับยาธาตุอบเชย  ได้แก่
           เป็นเวลา 3 ครั้งต่อวันเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับ   การตรวจสอบชนิดสารที่เป็นองค์ประกอบและการ

           simethicone 105 มิลลิกรัม เป็นเวลา 3 ครั้งต่อ  หาปริมาณสารเคมีบ่งชี้ (chemical markers) โดย
           วัน พบว่าได้ผลการรักษาและความปลอดภัยไม่แตก  การใช้โครมาโทกราฟีชนิดของเหลวสมรรถนะสูง

           ต่างกัน แต่การใช้ยาธาตุอบเชยมีราคาถูกกว่าการใช้   (High Performance Liquid Chromatography,
                      [4]
           simethicone  ดังนั้นการใช้ยาธาตุอบเชยจึงเป็นทาง  HPLC)
           เลือกของการรักษาผู้ป่วย functional dyspepsia ซึ่ง

           เป็นอาการเรื้อรัง ไม่ทราบสาเหตุและต้องใช้ยาติดต่อ       ระเบียบวิธีศึกษ�
           กันนาน ทำาให้เสียค่าใช้จ่ายสูง ปัจจุบันยาธาตุอบเชย  วัสดุและเครื่องมือ
           มีจำาหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดและเป็นยาที่     สารมาตรฐาน cinnamic acid, cinnamalde-

           โรงพยาบาลชุมชนหลายแห่งผลิตได้และจ่ายให้ผู้ป่วย  hyde, gallic acid, glycyrrhizin และ eugenol จาก
           ของตนเอง                                    บริษัท Sigma-Aldrich สหภาพยุโรป เครื่องยาจาก
                องค์ประกอบทางเคมีของพืชสมุนไพรในตำารับ  ร้านขายยาแผนโบราณในจังหวัดขอนแก่น จังหวัด

           นี้มีหลายกลุ่ม ได้แก่ สารกลุ่ม phenylpropanoids   อุบลราชธานี และจังหวัดกรุงเทพมหานครอย่างละ 1
           และอนุพันธ์ เช่น จากเปลือกอบเชยเทศ พบสาร    แห่ง (พิสูจน์เอกลักษณ์เครื่องยาโดย ผศ. สุดารัตน์

           cinnamaldehyde, สาร cinnamic acid เป็นต้น    หอมหวล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
                                                  [5]
           จากดอกกานพลู พบสาร eugenol, สาร eugenyl     ผลิตภัณฑ์ยาธาตุอบเชยจากโรงพยาบาล 5 แห่ง ตัวทำา
           acetate, สาร gallic acid, สาร caffeic acid สารกลุ่ม   ละลายเกรด HPLC เช่น methanol, acetonitrile
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75