Page 72 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 72

422 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




                4.  การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารในตำารับ        ทำาการสกัดตัวอย่างตำารับยาธาตุอบเชยที่
           ยาธาตุอบเชย                                 เตรียมจากเครื่องยาจังหวัดอุบลราชธานี 18 ตัวอย่าง

                วิเคราะห์ตัวอย่างตำารับยาธาตุอบเชยและสาร  จากนั้นนำาไปวิเคราะห์หาค่าความแม่นยำาภายในวัน
           มาตรฐาน เปรียบเทียบเวลารีเทนชัน (retention   เดียวกัน (intraday precision) และค่าความแม่นยำา
           time) ของพีค (peak) ของสารในยาธาตุอบเชยกับ  ระหว่างวัน (interday precision) นำาผลที่ได้ไปหา

           ของสารมาตรฐานแต่ละชนิด                      ร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (%relative
                5.  การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์   standard deviation, %RSD) ซึ่ง %RSD ของ in-
                             [10]
           (method validation)                         traday precision ต้องน้อยกว่า 6% และ %RSD ของ
                  5.1 ความจำาเพาะเจาะจง (selectivity)   interday precision ต้องน้อยกว่า 11%
                  นำาสารมาตรฐานและตัวอย่างตำารับยาธาตุ       5.5 ขีดจำากัดในการตรวจพบ (Limit of de-
           อบเชยที่เติมสารมาตรฐานวิเคราะห์ด้วย HPLC โดย   tection, LOD) และขีดจำากัดในการวิเคราะห์ (Limit

           retention time ของ peak ของสารชนิดเดียวกันจะ  of quantitation, LOQ)
           มีค่าเท่ากัน และพื้นที่ใต้พีค (peak area) ของตัวอย่าง       ตรวจสอบด้วยการเติมสารเคมีบ่งชี้ที่ค่า

           ยาธาตุอบเชยที่เติมสารมาตรฐานจะต้องเพิ่มขึ้น  ความเข้มข้นที่อยู่ในช่วงกลางลงในตัวอย่างเปล่า
                                                                               ้
                  5.2 ค่าความเป็นเส้นตรง (linearity) และ  (sample blank) วิเคราะห์ 5-7 ซำา ค่า LOD วัดได้จาก
           ช่วงความสัมพันธ์ที่เป็นเส้นตรง (range)      ความเข้มข้นของสารที่ให้สัญญาณเป็น 3 เท่าของส่วน

                  สร้างกราฟมาตรฐาน (calibration curve)   เบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation, SD) ของ
           โดยวิเคราะห์สารละลายของสารเคมีบ่งชี้ cinnamic   sample blank เหนือค่าเฉลี่ยสัญญาณของ sample

           acid, glycyrrhizin และ eugenol ความเข้มข้นต่าง ๆ   blank และค่า LOQ วัดได้จากความเข้มข้นของสารที่
           กันอย่างน้อย 6 ความเข้มข้น นำาผลที่ได้มาหาค่าความ  ให้สัญญาณเป็น 10 เท่า ของ SD ของ sample blank
           เป็นเส้นตรงระหว่าง peak area กับความเข้มข้นของ  เหนือค่าเฉลี่ยสัญญาณของ sample blank

           สาร linear range ประเมินจากค่าสัมประสิทธิ์สห-     6.  การวิเคราะห์สารเคมีบ่งชี้ในตัวอย่างตำารับ
           สัมพันธ์ (correlation coefficient, r ) ของ calibra-  ยาธาตุอบเชย
                                       2
                        2
           tion curve ซึ่ง r ต้องมากกว่า 0.9950            ใช้วิธีวิเคราะห์ที่ศึกษานี้ วิเคราะห์ปริมาณสาร
                  5.3 ความถูกต้อง (accuracy)           เคมีบ่งชี้ทั้ง 3 ชนิดในตัวอย่างตำารับยาธาตุอบเชย
                  เติมสารเคมีบ่งชี้ที่ทราบความเข้มข้นลงไป  ที่เตรียมในห้องปฏิบัติการและผลิตภัณฑ์ของโรง-
                                                                                              ้
           ในตัวอย่างตำารับยาธาตุอบเชยที่เตรียมจากเครื่องยา  พยาบาลทั้งหมด 8 ตัวอย่าง วิเคราะห์ตัวอย่างละ 3 ซำา
           จังหวัดอุบลราชธานี วิเคราะห์หาปริมาณสารเทียบกับ
           ตัวอย่างตำารับยาธาตุที่ไม่ได้เติมสาร หาร้อยละของ         ผลก�รศึกษ�

           การกลับคืน (%recovery) โดยเกณฑ์ในการยอมรับ      1. การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารสกัดตำารับ
           อยู่ในช่วง 85-110%                          ยาธาตุอบเชย
                  5.4 ความแม่นยำา (precision)              จากภาพที่ 1 วิธีวิเคราะห์นี้สามารถจำาแนกสาร
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77