Page 197 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 197

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  547




            ไว้อย่างผิดพลาดบ้าง สอบถามจากคนที่รู้จริงบ้าง รู้ผิด  คนสำาคัญของประเทศไทย เขียนงานวิชาการ และแปล
            บ้าง ข้อสำาคัญคือข้อจำากัดเรื่องภาษา ลาลูแบร์กล่าวถึง  วรรณกรรมสำาคัญออกสู่ภาษาไทยไว้เป็นจำานวนมาก

            เรื่องเหล้าไว้เล็กน้อย แต่ไม่กล่าวถึงกัญชาและยาเสพ  หนังสือเรื่องนี้เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510 เป็นเรื่องราว
            ติดอื่นเลย [12]                             ย้อนไปในสมัยที่ผู้เขียนยังหนุ่ม ราว 50 ปี ก่อนหน้า
                   2.2.5 พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์   นั้น จึงเป็นเรื่องราวตั้งแต่ก่อนจะมีการตรา “พระราช
            รัชกาลที่ 1-4 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำา   บัญญัติกันชา พ.ศ. 2477’’ เป็นเรื่องราวของชาวไทย

            บุนนาค) เป็นพระราชพงศาวดารที่พระบาทสมเด็จ   “ส่วนใหญ่มุ่งถึงไทยภาคกลาง โดยเฉพาะในหมู่พวก
            พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา  ชาวบ้านชาวชนบท อันมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆ

            ทิพากรวงศ์ (ขำา บุนนาค) เรียบเรียงขึ้นเมื่อ พ.ศ.   ไม่ใคร่มีใครจะสนใจ ... เป็นชีวิตคนสามัญ ... ที่รักถิ่น
            2412 (ปีที่ 2 ในรัชสมัย ขณะที่ทรงพระชนมายุเพียง   รักพวกมากกว่าใคร ๆ’’ เป็นเรื่องราวที่ผู้เขียนประสบ
            16 พรรษา) ต่อมาชำาระโดยสมเด็จฯ กรมพระยาดำารง  มาด้วยตนเองบ้าง ซักถามจากคนอื่นบ้าง เก็บข้อความ

            ราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2444 ฉบับที่อ้าง  มาจากหนังสือต่าง ๆ บ้าง หนังสือเล่มนี้ไม่กล่าวถึง
            ถึง ความยาวรวม 2,136 หน้า บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ไว้  กัญชาเลย [14]
                                          ้
            มากมาย มีเรื่องการจับจีนขายฝิ่นที่ปากนำาบางปะกงใน       3.1.2 การศึกษาเรื่องประเพณีไทย โดย
            สมัยรัชกาลที่ 3 ไม่มีการกล่าวถึงเรื่องกัญชา คราวเจ้า  ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ.
            อนุมากวาดต้อนครัวไทยไปเวียงจันทน์ พระยาปลัด   2505 ประกอบด้วยเรื่องประเพณีไทย และเรื่องชนชาติ

            พระยาพรหมยกกระบัตร กรมการ “จึงคิดอุบายจัด   ประวัติศาสตร์และศาสนาของไทย มีทั้งเรื่องจารีต
            หญิงสาว ๆ ให้นายทัพนายกองที่ควบคุมครัวนั้นทุก  ประเพณี ประเพณีปรัมปรา ขนบประเพณี ธรรมเนียม

            คน จนชั้นแต่ไพร่จะชอบใจใครก็ไม่ว่า เห็นว่าพวก  ประเพณี วิถีประชาชนและความนิยมตามสมัย เป็นต้น
            ลาวกับพวกครัวสนิทเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเข้าแล้ว   ไม่มีการกล่าวถึงเรื่องกัญชาเช่นกัน [14]
            พระยาปลัด พระยาพรหมยกกระบัตรขึ้นมาหาอนุที่         3.1.3 ฟื้นความหลัง ฉบับสมบูรณ์ โดย

            ค่ายใหญ่ แจ้งว่าอพยพครอบครัวไปได้ความอดอยาก  เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน) พิมพ์เผยแพร่
            นัก ขอมีด ขวานสัก 9 บอก 10 บอก พอจะได้ยิงเนื้อมา  ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นการ “เล่าเรื่องเก่าเท่าที่ตน
            กินเป็นเสบียงเลี้ยงครัวไปตามทาง อนุก็ยอมให้ ครั้น  รู้และระลึกได้ โดยอาศัยเรื่องในชีวประวัติของตนเอง

            ได้มีดขวานปืนไปแล้ว เดินครัวไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ ...   เป็นเพียง ขอเกี่ยวเรื่องเก่าเอาไว้เท่านั้น’’ ฉบับพิมพ์
            ครั้นเวลากลางคืนดึกประมาณ 3 ยามเศษ ก็ฆ่าพวก  ครั้งที่ 4 เมื่อตุลาคม พ.ศ. 2547 แบ่งเป็น 4 เล่ม รวม
            ลาวตายเกือบสิ้น...’’ [13]                   1,309 หน้า ไม่มีการกล่าวถึงกัญชาเลย [15]

                                                               3.1.4 นิทานชาวไร่ โดย น.อ.สวัสดิ์ จันทนี
            3. กัญช�ในวรรณกรรมร่วมสมัย                  เป็น “เรื่องประวัติศาสตร์เก่า ๆ’’ ที่ผู้เขียนเขียน “ให้


                 3.1 เอกสารวิชาการและสารคดี             นายทหารเรือชั้นหลังอ่านเป็นทำานองเล่านิทาน ... ทุก
                   3.1.1 เรื่องชีวิตชาวไทยสมัยก่อน โดย  เรื่อง ... ได้จากประสบการณ์จริง ๆ บ้าง ได้จากผู้เล่าเล่า
            ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน ซึ่งเป็นปราชญ์  ให้ฟังบ้าง ซึ่งล้วนแต่เป็นเรื่องจริงทั้งสิ้น’’ เป็นเรื่องราว
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202