Page 196 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 196
546 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
วัดป่ามะม่วงมีทั้งภาษาเขมร (จารึกหลักที่ 4) ภาษาไทย พงศาวดาร ตำานานแลทำาเนียบต่าง ๆ ราชประเพณี
หลักที่ 1 (จารึกหลักที่ 5) ภาษาไทย หลักที่ 2 (จารึก กรุงศรีอยุธยา ฯลฯ ไม่พบข้อความที่กล่าวถึงกัญชา
หลักที่ 7) ภาษาบาลี (จารึก หลักที่ 6) มีข้อความค่อน แต่มีเนื้อความบางตอนที่มีนัยปฏิเสธกัญชา ดังใน
ข้างยาว กล่าวถึง ต้นมะม่วง ฝูงนก ไม่กล่าวถึงพรรณ “เรื่องพระพิไชยเสนา : เป็นตำาราสำาหรับข้าราชการควร
ไม้ [10] ประพฤติ’’ ข้อ 2 “ผู้เป็นเสนามาตยาธิบดี หมั่นรักษา
[10]
ศิลาจารึกวัดจุฬามณี ไม่กล่าวถึงพรรณไม้ใด อุโบสถศีลและเบญจศีลต้องรักษาเป็นนิจ ... ตั้งจิต
2.2 กัญชาในพระราชพงศาวดาร อยู่ในสุจรินธรรมสามประการ กายวจีสุจริตเจริญแล้ว
2.2.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ในอารมณ์ สติ ปัญญา ก็อาจสามารถเห็นทุกข์ภัยของ
ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นพระราชพงศาวดาร นรชน และมหาภัยพิบัติในอิทโลกย์ ประโลกย์ ...’’
ที่ชำาระในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2338 หลังเสด็จ ข้อ 11 “... ถ้าไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ประพฤติการงาน
ขึ้นครองราชย์เป็นปีที่ 14 เป็นพระราชพงศาวดารกรุง ไม่เป็นประโยชน์แก่ปัจจุบัน และประโลกย์ ก็ให้ห้าม
ศรีอยุธยาที่ค่อนข้างสมบูรณ์ และเป็นรากฐานของการ ปรามเสียด้วยคำาดี หรืออาญาตามควร’’ ข้อ 23 “ผู้เป็น
ชำาระพระราชพงศาวดารฉบับต่อ ๆ มา เนื้อหากล่าวถึง อำามาตย์ราชเสนีมุขมนตรีจะคบหาสมาคมให้พิจารณา
เหตุการณ์สำาคัญต่าง ๆ กล่าวถึงชีวิตผู้คนน้อยมาก มี โดยละเอียดเห็นว่าสมควรจะสมาคมจึงคบหา แต่อย่า
ตอนหนึ่งกล่าวถึงความเจริญของบ้านเมือง ในเมือง แสดงความลับอันตรายร้ายแรงออกให้แจ้งปรากฏ
พ.ศ. 2090 สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิว่า “... มี แก่มิตรที่สนิทนั้น หาควรไม่ ถ้าได้พิโรธกันก็จะแสดง
กำาปั่นลูกค้าเมืองฝรั่งเศส เมืองอังกฤษ เมืองวิลันดา ความลับออกให้ปรากฏแก่ผู้อื่นก็จะเป็นการอัปยศแล
เมืองสุรัต และสำาเภาจีนเข้ามาค้าขายเป็นอันมาก ...’’ อันตรายแก่ตน จงมัทยัตไว้ในอารมณ์’’
ไม่กล่าวถึงว่ามีสินค้าสำาคัญอะไรบ้าง [10] กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานียาวนานถึง 417 ปี
2.2.2 พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับ ส่วนหนึ่งก็น่าจะด้วยหลักคำาสอนเช่นนี้
พันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นพระราชพงศาวดารที่ชำาระ 2.2.4 จดหมายเหตุลาลูแบร์ เป็นบันทึก
เมื่อ พ.ศ. 2338 เช่นเดียวกัน เหตุการณ์บ้านเมือง ของมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ซึ่งเป็นราชทูตจากราช
ช่วงนั้นมากด้วยการศึกสงคราม ราษฎรได้ทุกข์ยาก สำานักฝรั่งเศสเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จ
อดอยากมากมาย เอกสารนี้ได้บันทึกเรื่องราวการรบ พระนารายณ์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2230 ได้เข้ามาใน
ทัพจับศึก และสภาพการณ์บ้านเมืองไว้ค่อนข้างมาก [10] กรุงศรีอยุธยา เพียง 3 เดือน 6 วัน เมื่อกลับไปแล้ว
2.2.3 คำาให้การชาวกรุงเก่า คำาให้การขุน ได้เขียนเรื่องที่พบเห็นและรับฟัง แล้วเขียนบรรยาย
หลวงประดู่วัดทรงธรรม และคำาให้การขุนหลวงหา ไว้อย่างพิสดาร ฉบับที่แปลเป็นภาษาไทยความยาวถึง
วัด [11] 681 หน้า เขียนทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม การกินอยู่ การ
เป็นคำาให้การที่ฝ่ายพม่าสอบถามจากเชลยไทย แต่งงาน ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา มาตราชั่งตวง
ครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 แล้วบันทึกไว้เพื่อให้พม่า “รู้เขา’’ วัด รวมทั้งบันทึกเพลงไทยชื่อสายสมรไว้เป็นตัวโน้ต
คือ รู้จักภูมิสถานบ้านเมืองประเพณีของไทยที่เป็น แต่ข้อความโดยมากผิดพลาดคลาดเคลื่อน เพราะได้
คู่สงครามกันมายาวนาน มีเรื่องราวต่าง ๆ เช่น เรื่อง ความรู้จากหนังสือที่ฝรั่งที่เข้ามากรุงสยามแต่ก่อนแต่ง