Page 71 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 71
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 209
ร้อนไฟฟ้า 4. เปรียบเทียบความแตกต่างความยืดหยุ่น
3. เปรียบเทียบความแตกต่างความยืดหยุ่น ของกล้ามเนื้อบ่าก่อนและหลังการรักษาของแผ่น
ของกล้ามเนื้อบ่าเมื่อรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนแบบ ประคบร้อนแบบร้อนชื้น แผ่นประคบร้อนสมุนไพร
ร้อนชื้น แผ่นประคบร้อนสมุนไพร และแผ่นประคบ และแผ่นประคบร้อนไฟฟ้า
ร้อนไฟฟ้า
ตารางที่ 1 ความแตกต่างของการเปรียบเทียบจุดกดเจ็บชนิดแฝงเมื่อรักษาด้วยแผ่นประคบร้อน แบบร้อนชื้น แผ่น
ประคบร้อนสมุนไพร และแผ่นประคบร้อนไฟฟ้า (n = 18)
ชนิดแผ่นประคบร้อน
(Mean difference ± SD)
ตัวแปร แผ่นประคบร้อน แผ่นประคบร้อน แผ่นประคบร้อน p-value
แบบร้อนชื้น แบบสมุนไพร แบบไฟฟ้า
ระดับความรู้สึกกดเจ็บด้วยแรงกด 1.36 ± 0.64 1.35 ± 0.65 1.20 ± 0.56 0.707
(PPT; กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
ระดับความรู้สึกความเจ็บปวดด้วย 22.25 ± 15.45 27.39 ± 20.43 23.86 ± 19.30 0.211
สายตา (VAS; มิลลิเมตร)
ตารางที่ 2 แสดงความแตกต่างของการเปรียบเทียบความแตกต่างจุดกดเจ็บชนิดแฝงก่อนและหลัง การรักษาของแผ่น
ประคบร้อนแบบร้อนชื้น แผ่นประคบร้อนสมุนไพร และแผ่นประคบร้อนไฟฟ้า (n = 18)
ชนิดของ ตัวแปร Mean ± SD p-value
แผ่นประคบร้อน ก่อนการรักษา หลังการรักษา
แผ่นประคบร้อน ระดับความรู้สึกกดเจ็บด้วยแรงกด 2.00 ± 0.36 3.36 ± 0.71 < 0.001*
แบบร้อนชื้น (PPT; กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
ระดับความรู้สึกความเจ็บปวดด้วย 35.72 ± 17.29 13.47 ± 14.59 < 0.001*
สายตา (VAS; มิลลิเมตร)
แผ่นประคบร้อน ระดับความรู้สึกกดเจ็บด้วยแรงกด 2.00 ± 0.54 3.35 ± 0.75 < 0.001*
แบบสมุนไพร (PPT; กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
ระดับความรู้สึกความเจ็บปวดด้วย
สายตา (VAS; มิลลิเมตร) 41.00 ± 20.95 13.61 ± 13.80 < 0.001*
แผ่นประคบร้อน ระดับความรู้สึกกดเจ็บด้วยแรงกด 1.90 ± 0.30 3.10 ± 0.76 < 0.001*
แบบไฟฟ้า (PPT; กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร)
ระดับความรู้สึกความเจ็บปวดด้วย 36.67 ± 18.05 12.81 ± 12.02 < 0.001*
สายตา (VAS; มิลลิเมตร)
หมายเหตุ *มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) เมื่อวิเคราะห์ด้วย paired t-test