Page 69 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 69

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  207




              เคลื่อนไหวลดลง กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการและอาการ         ระเบียบวิธีศึกษ�
              แสดงดังกล่าวบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างพยาธิ     การวิจัยแบบทดลองทางคลินิกโดยมีการสุ่ม
              สภาพของ MPS กับการทำางานของระบบประสาท เช่น   ตัวอย่างแบบปกปิดทางเดียว (single-blinded,

              ระบบประสาทรับสัมผัส ระบบประสาทยนต์ และระบบ  randomized clinical trial) และมีการทดสอบก่อน
              ประสาทอัตโนมัติ  โดยการรักษาทางกายภาพบำาบัด  และหลัง (pre-post test) โดยศึกษาในนักศึกษาเพศ
                           [1,5]
              ในกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืดทำาได้หลายวิธี   หญิงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ระดับปริญญาตรี ช่วง
              เช่น หัตถการบำาบัด (manual therapy) และการใช้  อายุ 18–25 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในช่วง 18.5–22.9
              ไฟฟ้าบำาบัด (electrotherapy) [6]            กิโลกรัมต่อตารางเมตร มีจุดกดเจ็บชนิดแฝง (latent

                   ปัจจุบันความร้อนตื้นนิยมใช้ในการรักษากลุ่ม  trigger point) ที่กล้ามเนื้อบ่าข้างขวามีอาการปวด
              อาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด เนื่องจากมีราคาถูก   เรื้อรังมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน มีความถนัดใน

              ประหยัด และใช้งานง่าย จึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย   การใช้มือขวา มีระดับกิจกรรมทางกายระดับ active
              ซึ่งในทางกายภาพบำาบัดได้นำาประโยชน์ของความร้อน  คะแนนในช่วง 6–8 คะแนน
                                                                              [8]
              มาใช้เพื่อรักษาหลากหลายรูปแบบ โดยคุณสมบัติ      จำานวนกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำานวณจากสูตร

              ของความร้อนสามารถทำาให้เกิดการขยายตัวของ
              หลอดเลือดและทำาให้อัตราการไหลเวียนเลือดเพิ่ม
              ขึ้น อัตราเมแทบอลิซึมเพิ่มขึ้น เพิ่มความผ่อนคลาย     โดย n = ขนาดกลุ่มตัวอย่าง

              ของกล้ามเนื้อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ ลดอาการ  Z  = 1.96
                                                               ∝/2
              ล้าของกล้ามเนื้อ เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ ลด  Z  = type II error (1.645) ความคลาดเคลื่อน
                                                               β
              การยึดติดของข้อต่อ ลดอาการปวดและการอักเสบ   5% หรือ β = 0.05
              เรื้อรัง  ลักษณะของการรักษาด้วยความร้อนตื้น เช่น      ∆ = ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (0.15)
                   [7]
              แผ่นประคบร้อน ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ เช่น แผ่น     σ  = ค่าความแปรปรวนของตัวแปร (0.09)
                                                                2
              ประคบร้อนแบบร้อนชื้น แผ่นประคบร้อนไฟฟ้า และ     ดังนั้นการเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง จำานวน 11 คน
              แผ่นประคบร้อนสมุนไพร โดยส่วนประกอบของแผ่น   โดยจำานวนกลุ่มตัวอย่างของการศึกษาได้จากการ
              ประคบร้อนทั้ง 3 ชนิดมีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งอาจส่ง  คำานวณหลังจากการศึกษานำาร่อง (pilot study) โดย

              ผลต่อผลของการรักษาที่แตกต่างกัน             เก็บข้อมูลตามขั้นตอนการวิจัยในกลุ่มตัวอย่างจำานวน
                   ดังนั้นงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลทันทีของ  6 คน เพื่อทดสอบตามโปรแกรมและนำาผลจากการ

              การรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนเพื่อลดอาการจุดกด  ศึกษานำาร่องมาคำานวณโดยใช้ค่าความแตกต่างของ
              เจ็บชนิดแฝงและเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อบ่า   ค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวนของตัวแปรคือ 0.15
              รวมถึงเปรียบเทียบผลทันทีของการรักษาด้วยแผ่น  และ 0.09 ตามลำาดับ และใช้ 20% Drop out เพื่อหา

              ประคบร้อนทั้ง 3 ชนิดต่อจุดกดเจ็บชนิดแฝงและ  จำานวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้จริง ซึ่งงานวิจัยนี้ใช้จำานวน
              ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อในผู้ที่มีอาการปวดกล้าม  กลุ่มตัวอย่างจำานวน 18 คน เพื่อให้ครอบคลุมกับ
              เนื้อบ่า                                    โปรแกรมการทดสอบที่ระบุไว้ในการวิจัย
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74