Page 68 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 68
206 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
Immediate Effects of Different Hot Packs on Latent Trigger Point and
Flexibility of Upper Trapezius Muscle : Single-Blinded, Randomized
Clinical Trial
Praphatson Sengsoon , Jindarat Khieowong, Manlika Lisawat, Wathanya Pongsatornkul,
*
Suttida Prateep
Department of Physical Therapy, School of Allied Health Sciences, Walailak University,
Nakhon Si Thammarat 80160, Thailand
* Corresponding author: praphatson.kl@wu.ac.th
Abstract
This study is a preliminary study to compare the immediate treatment effects of moist hot packs, Thai herbal
hot packs, and electrical hot packs on latent trigger points and the flexibility of the upper trapezius muscle. Eigh-
teen Walailak university students were suffering from pain in the right upper trapezius muscle and their physical
activity levels were assessed. Their pressure pain threshold, visual analog scale, and flexibility of the right upper
trapezius muscle were recorded before and after the employment of 3 hot packs for 20 minutes. The result found
that there was no statistically significant difference in the pressure pain threshold, visual analog scale, and flexibility
of the right upper trapezius muscle after the use of 3 hot packs (p > 0.05). Statistically significant differences in the
pressure pain threshold, visual analog scale, and flexibility of the right upper trapezius muscle before and after 3
hot packs placement were found (p < 0.05). Treatment with 3 hot packs could reduce the pain of the latent trigger
point and increase flexibility of the upper trapezius muscle in a similar way. Nevertheless, Thai herbal hot packs
can enhance the relaxation and relieve pain better than others.
Key words: moist hot pack, Thai herbal hot pack, electrical hot pack, latent trigger point, Upper trapezius
muscle
บทนำ� ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อบ่า (upper trapezius
กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด (Myo- muscle) โดยมักพบในกลุ่มวัยทำางานเกี่ยวกับการ
fascial pain syndrome : MPS) เป็นปัญหาสุขภาพ ใช้คอมพิวเตอร์ในออฟฟิศ ซึ่งสาเหตุการเกิดจุด
[3-4]
[1-2]
ของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกที่พบได้บ่อย ใน กดเจ็บมาจากลักษณะการใช้งานของกล้ามเนื้ออย่าง
้
ประเทศไทยพบผู้ที่มีอาการปวดแบบ MPS คิดเป็น หนักหรือการใช้งานร่างกายส่วนเดิมซำา ๆ ติดต่อกัน
ร้อยละ 6.3 ของประชากรหรือร้อยละ 36 ของประชากร เป็นระยะเวลานาน ทำาให้กล้ามเนื้อหดตัวค้างเป็นระยะ
ที่มีอาการปวดของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โดย เวลานาน จนมีลักษณะเป็นก้อนขนาดเล็กและมีความ
พบในเพศหญิงได้บ่อยกว่าเพศชายในอัตราส่วน แข็งทำาให้เกิดการกดเบียดต่อเส้นเลือด ส่งผลให้การ
2.4:1 ซึ่งช่วงอายุที่พบบ่อยคือ 31–60 ปี กล้ามเนื้อที่ ไหลเวียนเลือดและปริมาณออกซิเจนในกล้ามเนื้อ
พบจุดกดเจ็บ (Trigger point : TrP) เป็นกลุ่มกล้าม ลดลง อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย คือ อาการ
เนื้อที่ทำางานในการควบคุมท่าทางบริเวณแกนกลาง ปวดกล้ามเนื้อเฉพาะที่และปวดแผ่ร้าว องศาของการ