Page 208 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 208
346 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
หัวใจชุ่มชื่น จัดเป็นโกฐชนิดหนึ่งในพิกัดโกฐทั้ง เอกสารอ้างอิง
5 (เบญจโกฐ) โกฐทั้ง 7 (สัตตโกฐ) และโกฐทั้ง 9 1. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. ที่มาของค�า “โกษฐ์’’ และ
(เนาวโกฐ) [1-4] โกษฐ์ที่ใช้มากในยาไทย. วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 2546;
28(1):113-9.
ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยพรีคลินิกแบบนอก 2. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย
กายพบว่าโกฐสอมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรค เล่ม 5 คณาเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์อมรินทร์;
2547. หน้า 83-5.
หลายชนิด รวมทั้งเชื้อบิดและเชื้อไข้ไทฟอยด์ [9-10] 3. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส์. ค�าอธิบาย
แก้ปวดและลดไข้ [10] ต�าราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
มหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
ขนาดและวิธีใช้ 3-9 กรัม ต้มน�้าดื่ม หรือ ส�านักพิมพ์อมรินทร์ และมูลนิธิภูมิปัญญา; 2548. หน้า 249-50.
[6-7]
ใช้เป็นเครื่องยาตามต�ารับยา 4. ราชบัณฑิตยสถาน. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก. อรุณการพิมพ์;
หมายเหตุ 2546. หน้า 424-5.
1. ชื่อ “โกฐสอ’’ หมายถึงโกฐซึ่งมีสีขาว ตรงกัน 5. She M, Pu F, Pan Z, Watson M, Canon JFM, Holmes-
Smith I, Kljuykov EV, Phillippe LR, Pimenov MG. Apia-
ข้ามกับ “โกฐเขมา’’ ซึ่งหมายถึงโกฐที่มีสีด�า ค�า “สอ’’
ceae. In: Wu ZY, Raven PH, editors. Flora of China. Vol.
เทียบจากภาษาเขมร แปลว่า ขาว [1-4] 14. Beijing: Science Press; 2005. p. 169.
2. โกฐสอที่มีขายในท้องตลาด มักจะได้จาก 6. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol. I.
English edition. Beijing: Chemical Industry Press; 2000.
พืชปลูกในมณฑลซื่อชวน (เสฉวน) และมณฑลเจ้อ p. 156-7.
เจียงของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยจะเก็บ 7. Zhu YP. Chinese materia medica. Chemistry, pharmacol-
ogy and applications. Amsterdam: Harwood Academic
รากของต้นโกฐสอในช่วงระหว่างฤดูร้อนและฤดูใบไม้ Publishers; 1998. p. 69-72.
ร่วง เมื่อใบเริ่มเฉาและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แล้วน�า 8. Tang W, Eisenbrand G. Chinese drugs of plant origin.
Chemistry, pharmacology, and use in traditional and
มาตากแดดหรืออบแห้งที่อุณหภูมิไม่เกิน 60 องศา modern medicine. Berlin: Springer-Verlag; 1992. p. 113-
เซลเซียส [2,4,7] 25.
9. Bensky D, Gamble A, Kaptchik T. Chinese herbal medi-
3. ต�ารายาของประเทศสาธารณรัฐประชาชน cine: Materia medica. Revised edition. Seattle (WA):
จีนมีมอนอกราฟโกฐสอ โดยระบุข้อบ่งใช้ว่าใช้แก้ปวด Eastland Press; 1986. p. 34-5.
10. Huang KC. The pharmacology of Chinese herbs. London:
ศีรษะโดยเฉพาะอาการปวดศีรษะด้านหน้า แก้ปวด
CRC Press; 1993. p. 156-8.
ฟัน ลดอาการคัดจมูกจากไข้หวัดหรือโรคโพรงอากาศ
อักเสบ เป็นต้น [6]