Page 205 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 205
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 343
ต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-5 (-7-8) เซนติเมตร ใบ เป็น ญี่ปุ่น เกาหลี และสหพันธรัฐรัสเซีย (ไซบีเรีย) พบขึ้น
ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น เรียงเวียน รูปไข่แกม ตามภูเขาสูงและชื้น ในหุบเขา ริมน�้า และชายป่า
รูปสามเหลี่ยม กว้างได้ถึง 40 เซนติเมตร ยาวได้ถึง 50 ออกดอกระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม เป็นผล
เซนติเมตร ก้านใบยาว โคนแผ่เป็นกาบ ใบย่อยไม่มี ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงกันยายน พันธุ์ปลูก (culti-
ก้าน รูปรีแคบถึงรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กว้าง var) ที่นิยมปลูกใช้กันมีหลายพันธุ์ปลูก เช่น Angel-
1-4 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตร ปลายแหลม โคน ica dahurica cv. Qibaizhi, Angelica dahurica
เป็นครีบเล็กน้อย ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ใบตอนบน cv. Yubaizhi, Angelica dahurica cv. Hang-
ลดรูปเป็นกาบ ช่อดอก แบบช่อซี่ร่มเชิงประกอบ ออก baizhi และ Angelica dahurica cv. Chuan-
ตามซอกใบและปลายกิ่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-30 baizhi [2,4-5]
เซนติเมตร สีขาว ใบประดับไม่มีหรือมีไม่เกิน 2 ใบ ลักษณะเครื่องยา โกฐสอมีลักษณะเป็นรากแห้ง
คล้ายกาบ หุ้มช่อดอกเมื่อยังอ่อนอยู่ มีช่อย่อย 18-40 รูปกรวยยาว ยาว 10-25 เซนติเมตร (อาจยาวได้ถึง 30
(-70) ช่อ มีขนสั้น ๆ ใบประดับย่อยรูปใบหอกแกมรูป เซนติเมตร) เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 เซนติเมตร
แถบ กลีบเลี้ยงลดรูป กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ผิวนอกสีน�้าตาลแกมสีเทาหรือสีน�้าตาลแกมสีเหลือง
ขนาดเล็ก ปลายเว้าตื้น เกสรเพศผู้ 5 อัน รังไข่เหนือ มีรอยย่นตามยาว รอยแผลจากรากแขนง และรอย
วงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด โคนก้าน แผลตามขวางคล้ายช่องหายใจ รอยแผลเหล่านี้อาจ
เกสรเพศเมียเป็นรูปกรวยสั้น ผล แบบผลแห้งแยก พบเรียงเป็นแถวตามยาว 4 แถว ส่วนโคนเป็นรอยบุ๋ม
แล้วแตก รูปรีกว้างถึงรูปเกือบกลม ด้านล่างแบนราบ จากล�าต้น เนื้อแข็ง รอยหักสีขาวหรือสีขาวแกมสีเทา
กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร สันด้านล่าง เนื้อมีแป้ง วงแคมเบียมสีน�้าตาล กึ่งสี่เหลี่ยมหรือเกือบ
หนากว่าร่อง สันด้านข้างแผ่เป็นปีกกว้าง ตามร่องมีท่อ กลม มีจุดน�้ามันสีน�้าตาลจ�านวนมากกระจายทั่วไปใน
น�้ามัน 1 ท่อ ตามสันมีท่อน�้ามัน 2 ท่อ [2,4-5] ส่วนเปลือกราก กลิ่นหอม รสเผ็ดและขม [6]
พืชชนิดนี้มี 2 พันธุ์ (variety) คือ Angelica องค์ประกอบทางเคมี โกฐสอมีสารองค์ประกอบ
dahurica (Fisch. ex Hoffm.) Benth. & Hook. หลักเป็นคูมาริน (coumarin) และอนุพันธ์ของคูมา
f. ex Franch. & Sav. var. dahurica มีรังไข่และ ริน เช่น สโกโพเลทิน (scopoletin), ซีเดรลออปซิน
ผลเกลี้ยง พบขึ้นทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ (cedrelopsin), 7-ดีเมทิลซูเบอโรซิน (7-demethylsu-
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และ Angelica berosin) และอนุพันธ์ของฟูโรคูมาริน (furocoumarin)
dahurica (Fisch. ex Hoffm.) Benth. & Hook. f. หลายชนิด เช่น อิมเพอราโทริน (imperatorin), โซรา
ex Franch. & Sav. var. formosana (H. Boissieu) เลน (psoralen), แองเจลิซิน (angelicin), เบอร์แกป
Yen ซึ่งรังไข่และผลมีขนนุ่ม พบขึ้นที่ไต้หวัน นอกจาก เทน (bergapten), ไบแอกแองเจลิซิน (byakangeli-
นั้นยังพบได้ในประเทศญี่ปุ่น เกาหลี และไซบีเรียของ cin), ไบแอกแองเจลิคอล (byakangelicol) [2-4,7-10]
สหพันธรัฐรัสเซีย [5] ข้อบ่งใช้ -
ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดนี้มีเขต ต�าราสรรพคุณยาไทยว่าโกฐสอมีกลิ่นหอม
การกระจายพันธุ์ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รสขมมัน มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้หืด แก้ไอ ท�าให้