Page 200 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 200

338 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             และต่อมาก็กระจายไปอย่างกว้างขวางจนกัญชากลาย     ในสหรัฐอเมริกา มลรัฐต่าง ๆ กว่าครึ่งประเทศ
             เป็นยาเสพติดให้โทษที่ผิดกฎหมายไปทั่วโลก     ยอมให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ และมีส่วนหนึ่งที่ยอม
                 ต่อมาเริ่มพบว่ากัญชามิใช่ยาเสพติดที่ร้าย  ให้ใช้ในทางนันทนาการ แต่กฎหมายของสหพันธรัฐ

             แรง โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับยาเสพติดหรือวัตถุออก  (Federal Law) หรือของประเทศก็ยังจัดให้กัญชาเป็น
             ฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดอื่น ๆ ทั้งที่มีในอดีตและที่  ยาเสพติดให้โทษในบัญชี 1

             สังเคราะห์ขึ้นใหม่อีกหลายชนิด รวมทั้งพบประโยชน์     ในรัฐแคลิฟอร์เนียซึ่งในยุคฮิบปี้ มีการใช้กัญชา
             ทางการแพทย์ของกัญชา จึงเริ่มมีการ “ลดความเป็น  กันอย่างกว้างขวางมาก สภานิติบัญญัติของรัฐก็ออก
             อาชญากรรม’’ (decriminalization) ของกัญชาลง   กฎหมายให้ใช้กัญชาเพื่อนันทนาการได้ แต่ศาลสูงสุด

             โดยลดจากความผิดอาญาร้ายแรงเป็นความผิดอาญา   ของมลรัฐก็ตัดสินให้รัฐบาลท้องถิ่นสั่งห้ามจำาหน่าย
             ไม่ร้ายแรง (misdemeanor)  สำาหรับผู้มีไว้ในครอบ  กัญชาในร้านยาได้ และมีกว่า 180 เมืองในมลรัฐ

             ครองเพื่อเสพจำานวนจำากัด และบางประเทศถึงขั้น  แคลิฟอร์เนียที่สั่งห้ามจำาหน่ายกัญชาในร้านยา
             ทำาให้กัญชาเป็นสิ่งถูกกฎหมาย (legalize)
                 ประเทศไทยออกกฎหมายกำาหนดให้กัญชาเป็น    4. องค์คว�มรู้เรื่องกัญช�ในตำ�ร�ท�งก�รแพทย์

             ยาเสพติดให้โทษครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2477  ซึ่งเป็น  แผนไทย
                                             [32]
             ไปตามแนวทางของสากล ที่เริ่มควบคุมกัญชาเมื่อ      ไม่สามารถระบุฤทธิ์ทางยาของกัญชาได้ชัดเจน
             พ.ศ. 2383 และเข้มงวดสูงสุดในปี 2463 น่าสังเกตว่า    เพราะใช้กัญชาเป็นส่วนประกอบในตำารับยาที่มีเครื่อง

             ทวีปยุโรปและอเมริกา เริ่มปรับเปลี่ยนมาตรการทาง  ยาหลายชนิด ฤทธิ์ที่ชัดเจนได้แก่ ช่วยให้อยากอาหาร
             กฎหมายเกี่ยวกับกัญชา เมื่อทศวรรษนับจาก พ.ศ.   และช่วยให้นอนหลับ มียาตำารับหนึ่ง เคยจัดเป็นยาใน
             2513 แต่ประเทศไทยกลับเข้มงวดกับมาตรการทาง   บัญชียาหลักแห่งชาติแล้ว โดยตัดส่วนผสมของกัญชา

             กฎหมาย โดยจัดกัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ ตาม    ออก แสดงว่ากัญชามิใช่ตัวยาสำาคัญจนตัดออกจาก
             พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522       ตำารับไม่ได้ ในคัมภีร์/ ตำาราอายุรเวทของอินเดีย มี

                 มาตรการทางกฎหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงใน   ตำารับยาที่เข้ากัญชารวม 191 ตำารับ แสดงว่ามีการใช้
             ทวีปยุโรปและอเมริกา  เริ่มจากการเปิดให้นำากัญชามา  กัญชาในการแพทย์อายุรเวทของอินเดียไม่มาก
             ใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ ต่อมาก็เปิดให้นำาไปใช้

             ในทางนันทนาการได้ แต่ก็มีขอบเขตจำากัด เช่น เปิดให้          บทสรุป
             มีสถานที่เสพกัญชาได้โดยถูกกฎหมาย แต่ไม่อนุญาต     จากการทบทวนสถานการณ์ องค์ความรู้ นโยบาย

             ให้มีการซื้อขายในสถานที่นั้น การใช้ประโยชน์ทางการ  และกฎหมายกัญชาในประเทศต่าง ๆ  สามารถสรุปได้
             แพทย์ก็มีข้อจำากัดโดยให้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชา   ดังนี้
             หรือสารจากกัญชาเป็นยาที่ต้องสั่งใช้โดยผู้ประกอบ     1.  การพัฒนาองค์ความรู้เรื่องกัญชาในวง

             วิชาชีพ                                     วิชาการของโลกมีความก้าวหน้ามาก แต่วงวิชาการ
                 จึงไม่ปรากฏว่ามีประเทศใดที่เปิดให้ใช้กัญชา  ของไทยที่ผ่านมาอยู่ในภาวะแทบ “หลับสนิท” แทบ
             เสรีเลย                                     ไม่มีผลงานวิชาการพัฒนาขึ้นเลย ทำาให้สังคมตกอยู่
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205