Page 199 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 199

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  337




              ต่าง ๆ ที่หลากหลายในลักษณะสหวิทยาการ เป็นไปไม่  สามารถพบความสัมพันธ์ แต่มีส่วนน้อยมากที่พบ
              ได้ที่จะทบทวนองค์ความรู้ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์   ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ เพราะผู้ใช้กัญชาโดยมากมัก
              การนำาเสนอผลการศึกษานี้จึงนำาเสนอได้เฉพาะบาง  มีการใช้สารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดอื่นควบคู่ไป

              ประเด็น ที่เห็นว่าสำาคัญและโดยสังเขปเท่านั้น  ด้วย บางคนใช้หลายชนิด ในส่วนของประสิทธิผลก็มี
                   ตามขนบของวงวิชาการสากล การศึกษาต่าง ๆ   จำานวนน้อยที่มีหลักฐานที่พิสูจน์ประสิทธิผลได้อย่าง

              จะต้องมีการออกแบบ และยึดระเบียบวิธีที่ถูกต้อง   ชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบกับสรรพคุณที่อวดอ้างหรือ
              เชื่อถือได้โดยตัดอคติต่าง ๆ ออกให้มากที่สุด การ  เล่าลือกันก็พบว่าน้อยกว่ากันมาก ดังหนังสือที่ขายดี
              ประเมินผลเรื่องความปลอดภัยจะต้องทำาอย่างเป็น  เล่มหนึ่งบอกขนาดยาจากกัญชารักษาโรคต่าง ๆ ถึง

              ขั้นตอน ตั้งแต่การตั้งประเด็น การออกแบบการ  17 โรค / กลุ่มอาการ   ได้แก่ (1) Amyotrophic
                                                                          [10]
              ศึกษา การวัดผลและวิเคราะห์ผลอย่างเป็นขั้นตอน   lateral sclerosis (2)  Atopic Dermatitis (3) อาการ

              โดยเฉพาะการแพทย์ปัจจุบัน ยึดหลักการแพทย์อิง   ปวดเรื้อรัง (4) ช่วยให้อยากอาหารในผู้ป่วย Cystic
              หลักฐาน (evidence-based medicine) อย่าง     Fibrosis (5) ความจำาเสื่อม (6) ความผิดปกติใน
              เคร่งครัด ผลต่าง ๆ ที่วัดได้ จะต้องมีการพิจารณา  การกินอาหาร (7) โรคลมชักในผู้ใหญ่  (8) ปรับภาวะ

              เบื้องต้นว่า มีความคงเส้นคงวา (consistent) หรือไม่   กรดไขมันในร่างกาย (9) การเคลื่อนไหวผิดปกติใน
              มากน้อยเพียงใด ก่อนจะสรุปว่า สิ่งที่พบนั้นมีความ  Huntington’s disease  (10) อาการนอนไม่หลับ
              สัมพันธ์ (association) กับกัญชาหรือไม่ หลังจาก  (11) อาการจากโรคปลอกประสาทเสื่อม (12) ใช้เป็น

              นั้นจะต้องพิจารณาว่าเป็นความสัมพันธ์เชิงเหตุ-ผล   อาหารเสริม (13) โรคจิตเภท (14) โรคทูเรตต์ (15)
              (causal relationship) หรือไม่               โรคปวดข้อรูมาตอยด์ (16) โรคต้อหิน (17) ป้องกัน
                   การวัดประสิทธิผล (efficacy) ก็จะต้องมีการ  อาการคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำาบัด ยังมีบางคนนำาไป

              ออกแบบการศึกษาเป็นระยะ ๆ (phases) ตามขั้นตอน   ใช้รักษามะเร็ง อาการนอนกรน ตาอักเสบ อีกด้วย ซึ่ง
              และเป็นการออกแบบที่สามารถตอบวัตถุประสงค์    โรค/อาการต่าง ๆ เหล่านี้ มีหลักฐานที่พิสูจน์ทั้งความ

              ได้ ขนาดตัวอย่างและการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างก็  ปลอดภัย และประสิทธิผลค่อนข้างน้อยหรือน้อยมาก
              จะต้องถูกต้องตามหลักสถิติ ในปัจจุบัน หลักฐานที่  หลายกรณีเป็นอันตราย
              มีระดับความน่าเชื่อถือสูงสุด คือ ผลการศึกษาจาก

              การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) จากการ   3. นโยบ�ยและกฎหม�ย
              วิเคราะห์ผลการศึกษาวิจัยแบบสุ่มเปรียบเทียบที่มี     โดยที่กัญชามีการนำามาใช้อย่างกว้างขวางตั้งแต่

              การออกแบบและดำาเนินการศึกษาที่มีคุณภาพสูง   ครั้งโบราณกาล ทั้งเพื่อการรักษาโรค นันทนาการ
              หลายการศึกษา โดยทั่วไปการศึกษาดังกล่าวมักต้อง  และในพิธีกรรมต่าง ๆ แต่โดยที่กัญชามีฤทธิ์ต่อ
              มีการสุ่ม และปกปิดสองด้านเพื่อลดอคติทุกรูปแบบ  จิตประสาทและมีการเสพติด ทำาให้เกิดผลไม่พึง

              จึงจะสรุปเรื่องประสิทธิผลได้อย่างน่าเชื่อถือ  ประสงค์ทั้งต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม จึงเริ่มมีการ
                   ในการศึกษาเรื่องผลของกัญชาต่ออวัยวะต่าง ๆ   ใช้กฎหมายควบคุมกัญชา ตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่
              ของร่างกาย ตลอดจนพฤติกรรมและสังคม ส่วนหนึ่ง  19 โดยเริ่มจากแรงงานอพยพในประเทศอาณานิคม
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204