Page 140 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 140

278 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             ไสยศาสตร์ต่าง ๆ ในการรักษามีถึงร้อยละ 80 ของ  ลดความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้
             จำานวนหมอพื้นบ้านผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด [12]   เพราะช่วยกระตุ้นและเพิ่มการไหลเวียนโลหิต [20]
                 ในทางการรักษาด้วยการใช้ตำารับยาของหมอ

             ประวิทย์ใช้รสยาและสรรพคุณเป็นหลัก ซึ่งการ                   ข้อสรุป
             ใช้รสยารักษาที่ถูกต้องตรงตามการวินิจฉัยจะให้     จากการศึกษาพบว่าในตำารับยาสมุนไพรของ

             ประสิทธิผลที่ดีในการรักษาผู้ป่วย  จากการศึกษา  หมอประวิทย์ แก้วทอง เป็นตำารับยาที่รวบรวมจาก
                                       [16]
             พบว่าในตำารับยาสมุนไพรทั้งหมด 99 ตำารับของหมอ  ประสบการณ์จริงที่ใช้รักษาแล้วได้ผล  ซึ่งแต่ละตัวยา
             ประวิทย์เมื่อแบ่งตามกลุ่มโรค 7 กลุ่ม ซึ่งตำารับยา  ในตำารับจะมีสรรพคุณต่างกันเพื่อช่วยรักษาอาการต่าง

             แต่ละกลุ่มมีรสยาหลักที่แตกต่างกันออกไป จำานวน  ๆ ในโรคนั้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพเบื้อง
             ตำารับยาที่พบมากที่สุดจัดอยู่ในกลุ่มโรคลมซึ่งเป็น   ต้นในชุมชนได้ และผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า

             กลุ่มโรคที่หมอประวิทย์มีความเชี่ยวชาญในการ  หมอประวิทย์มีวิถีชีวิต และกระบวนการตรวจวินิจฉัย
             รักษามากที่สุดดังจะเห็นได้จากผู้ป่วยที่มารับการ  รักษาโรคอย่างเป็นระบบขั้นตอน มีการเก็บรวบรวม
             รักษากับหมอประวิทย์นั้น ส่วนใหญ่เป็นอัมพฤกษ์   องค์ความรู้จากประสบการณ์การใช้ยาสมุนไพรเพื่อ

             อัมพาต และหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่ง   การรักษา มาถ่ายทอดเป็นตำารายาที่ใช้ได้จริง และมี
             จัดอยู่ในกลุ่มของโรคลม โรคอัมพฤกษ์ อัมพาตมี  คุณค่าที่ควรสืบทอดองค์ความรู้ให้เป็นเชิงประจักษ์
             สาเหตุและอาการที่ใกล้เคียงกับโรคในทางการแพทย์  ต่อไป

             แผนปัจจุบันคือโรคหลอดเลือดสมอง (stroke)         ข้อเสนอแนะในการทำาวิจัย พบว่าข้อมูลที่ได้
                                                   [17]
             เกิดจากการที่ลมอุทธังคมาวาตา กับลมอโธคมาวาตา  จากตำารับยาสามารถนำาไปวิจัยต่อยอดการศึกษาตัว
             พัดระคนกัน ผิดทิศทาง และมีลมหทัยวาตะเข้ามา   ยาสมุนไพรเพื่อวิเคราะห์ถึงฤทธิ์ทางชีวภาพทางห้อง

             แทรก  ตัวยาในตำารับยาที่ใช้รักษาจึงเน้นยารสสุขุม  ปฏิบัติการและในเชิงคลินิก เพื่อพัฒนาองค์ความรู้
                 [18]
             ร้อนเพื่อช่วยกระจายลมที่ติดขัดทำาให้ระบบไหล  ด้านการพัฒนาสมุนไพรไทยในงานสาธารณสุขใน

             เวียนโลหิตทำางานได้ดีขึ้น และใช้การนวดร่วมด้วย  การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร โดยเฉพาะตำารับยา
             เพื่อเสริมประสิทธิผลในการรักษาด้วยยาให้ลมที่ถูก  รักษาอัมพฤกษ์ อัมพาต และหมอนรองกระดูกทับ
             กระจายด้วยยาเคลื่อนไปตามเส้นได้ดีขึ้น ลมจึงไม่ติด  เส้นประสาท ซึ่งเป็นกลุ่มโรคลมที่หมอประวิทย์มีความ

             ค้างอยู่ในเส้นอีกทำาให้ผู้ป่วยอาการดีขึ้น ซึ่งใกล้เคียง  เชี่ยวชาญในการรักษา
             กับตัวยาที่พบจากการศึกษาองค์ความรู้ในการรักษา

             อัมพฤกษ์ อัมพาตของหมอพื้นบ้านสมพร สุดใจจาก            กิตติกรรมประก�ศ
             จังหวัดชุมพร ซึ่งใช้ตัวยาหลักเป็นกลุ่มยารสร้อนเพื่อ     ขอขอบคุณพ่อหมอพื้นบ้านประวิทย์ แก้วทอง
             ขับลม  กลุ่มโรคที่มีผู้ป่วยรองลงมาคือโรคเรื้อรัง   แห่งจังหวัดสงขลาที่กรุณาสละเวลาให้ข้อมูลองค์ความ
                  [19]
             เช่น โรคความดันโลหิตสูง จากการศึกษาที่ผ่านมาพบ  รู้ที่มีคุณค่ายิ่งเพื่อเผยแพร่นำาสู่การใช้ประโยชน์
             ว่าการรักษาด้วยการนวดและใช้ยาสมุนไพร สามารถ
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145