Page 107 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 107
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 245
วิภังค์ พระคัมภีร์วรโยคสาร และพระคัมภีร์สิทธิสาระ ก�รป้องกัน
สงเคราะห์ มีพระคัมภีร์โรคนิทานและพระคัมภีร์ธาตุวิภังค์
เกิดจากพฤติกรรม โดยมีพระคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ ที่กล่าวถึงการป้องกันด้วยตำารับยา ส่วนพระคัมภีร์เล่ม
กล่าวถึงเหตุเกิดโรค 6 สถานคือ รับประทานอาหารผิด อื่นไม่ได้กล่าวถึง
เวลา รับประทานอิ่มเกินไป มีกิจกรรมทางเพศมากเกิน
ไป นอนกลางวันมากเกินไป มักมีอารมณ์โกรธ และ สรุปผลจ�กพระคัมภีร์ทั้ง 9 เล่ม พบว่�
กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระ กลไกการเกิดโรค ธาตุ พฤติกรรม ฤดู อายุ และ
เกิดจากฤดู อายุ และกาล โดยไปกระทบต่อ กาลเป็นเหตุให้เกิดโรค
ปิตตะ วาตะ และเสมหะให้เกิดการเจ็บป่วยได้ดังที่มี อาการและการดำาเนินโรค อาการจะเริ่มจากท้อง
การกล่าวถึงในพระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย ไต่ขึ้นไปที่อก คอ แล้วจะมีอาการที่ศีรษะในที่สุด
การรักษา ด้วยตำารับยาและการปรับพฤติ-
อ�ก�รและก�รดำ�เนินโรค
กรรม
พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัยไม่มีการกล่าวถึง การป้องกัน ด้วยตำารับยา
อาการ แต่พระคัมภีร์ที่เหลือกล่าวถึงอาการแสบไส้ ผลสรุปจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้าน
อาเจียน ท้องอืด จุกเสียด สะอึก เรอ คอแห้ง ฟันแห้ง เวชกรรมไทย ดังสรุปได้ในตารางที่ 2 มีรายละเอียด
แสบตา วิงเวียน ปวดศีรษะ สวิงสวาย ขลาดกลัว นอน ดังนี้
สะดุ้ง ตื่นตระหนก และหวาดวิตก
กลไกก�รเกิดโรค
ก�รรักษ�
จิตใจที่เครียดจะไปกระทบต่อธาตุไฟ กระทบ
้
พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัยและพระคัมภีร์สิทธิ ต่อธาตุลม แล้วไปกระทบธาตุนำาเข้าธาตุดิน โดยผู้ที่
สาระสงเคราะห์ไม่ได้กล่าวถึงการรักษา แต่พระคัมภีร์ มีธาตุลมเป็นธาตุเจ้าเรือนและมีพฤติกรรมเสี่ยงจะ
โรคนิทาน พระคัมภีร์ธาตุวิภังค์ พระคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ เครียดและป่วยง่ายที่สุด [7-15] มลพิษและการพักผ่อน
พระคัมภีร์ชวดาร พระคัมภีร์กษัย พระคัมภีร์วรโยค ที่ไม่เพียงพอยังทำาให้ร่างกายเครียดแล้วส่งผลต่อธาตุ
สาร และพระคัมภีร์ฉันทวาตปฏิสนธิกล่าวถึงการรักษา ทั้ง 4
[7,15]
ด้วยตำารับยา โดยพระคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ยังได้กล่าวถึง
การปรับพฤติกรรมโดยมีข้อห้ามปฏิบัติ 11 ประการ อ�ก�รและก�รดำ�เนินโรค
้
คือ ห้ามอาบนำาในตอนเย็น ห้ามทาของหอม ห้ามมี จะเริ่มตั้งแต่มีอาการทางคอ บ่า ไหล่ กล้าม
[12]
้
กิจกรรมทางเพศ ห้ามทำาให้ร่างกายบอบชำา ห้ามนอน เนื้อตึง มึนศีรษะ มีอาการทางลำาไส้จนถึงสมอง [7]
[13]
กลางวัน ห้ามวิธีรักษาโดยใช้ปลิงดูดโลหิตออกจาก เช่น ท้องผูก ท้องอืดเฟ้อ โรคกระเพาะ กรดไหล
[10]
[12]
กาย ห้ามโกนผมและเคราให้ระคายผิว ห้ามมีอารมณ์ ย้อน แน่นอก [14-15] เสียดที่หัวใจ ไทรอยด์เป็นพิษ
[8]
[14]
โกรธ ห้ามนอนตากลม ห้ามอาหารคาวที่มีมันมาก และ ความดันโลหิตสูง ไมเกรน หน้ามืดตาลาย เป็นลม
[10]
ห้ามไม่ให้ถือทิฐิ ปวดจี๊ดที่ศีรษะ หดหู่ อาการทางประสาท นอนไม่
[8]
[14]