Page 77 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 77

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  67




                 1)  ผู้ที่มาขอซื้อหรือได้รับยาแคปซูลประสะไพล   ยาประสะไพลต่อการรักษาภาวะประจำาเดือนผิดปกติ
            เพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการประจำาเดือนมาผิดปกติที่  มาก่อน แต่ยานี้มีการใช้มานานและมีการบรรจุในบัญชี

            มีหรือไม่มีกลุ่มอาการก่อนมีประจำาเดือนร่วมด้วยโดย  ยาหลักแห่งชาติ ดังนั้นการกำาหนดขนาดตัวอย่างจึงใช้
            มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้             การเปิดตารางขนาดตัวอย่างแบบ large effect size
                   - ประจำาเดือนมาน้อย (hypomenorrhea)   ของ Cohen ซึ่งใช้ effect size = 0.80 ที่ alpha =

                   - ประจำาเดือนขาด (amenorrhea)        0.05 เปิดตาราง power table ได้กลุ่มตัวอย่างขนาด
                   - ประจำาเดือนเว้นช่วงห่าง (oligomenor-  เหมาะสมจำานวน 30 ราย [9]
            rhea)                                            งานวิจัยนี้ดำาเนินการตามแนวปฏิบัติที่ดีในการ

                   - ประจำาเดือนถี่ (polymenorrhea)     ทำาวิจัยในมนุษย์ และได้รับการรับรองโครงร่างการ
                 เกณฑ์การคัดผู้เข้าร่วมวิจัยออก (exclusion   วิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
            criteria) คือ ผู้ที่มีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้  คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เลข

                 1)  หญิงที่กำาลังใช้ยาแผนปัจจุบันเพื่อรักษากลุ่ม  ที่ กจม (ภบ.) 018/ 2557 (วันที่รับรอง 19 ธันวาคม
            โรค หรือกลุ่มอาการที่เกี่ยวกับประจำาเดือนมาผิดปกติ   2557-18 ธันวาคม 2558) และผู้ร่วมวิจัยทุกรายได้ลง

                 2)  หญิงที่ใช้ยาหรือสมุนไพรที่มีผลต่อการมี  นามเป็นลายลักษณ์อักษรในแบบแสดงความยินยอม
            ประจำาเดือน เช่น ยาคุมกำาเนิด ยาสตรี นำ้ามันปลา ยา  เข้าร่วมงานวิจัยด้วยความสมัครใจ ก่อนที่จะเริ่มการ
            ต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ ฟอร์ตี้มัลติวิตามิน   ศึกษา

            นำ้ามันอีฟนิ่งพริมโรส
                 3)  หญิงที่ไม่ยินดีเข้าร่วมโครงการวิจัย  ผลิตภัณฑ์และขน�ดย�ที่มีก�รติดต�มก�รใช้

                 4)  หญิงตั้งครรภ์                           ผลิตภัณฑ์ที่มีการติดตามผลการใช้ในการวิจัย
                 5)  หญิงที่ตกเลือดหลังคลอด             ครั้งนี้ คือ ยาแคปซูลสารสกัดประสะไพล ที่ผลิตโดย
                 6)  หญิงที่มีประจำาเดือนมากกว่าปกติ    โรงงาน ฟาร์มแคร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย

                 7)  หญิงที่มีไข้                       มหาสารคาม ซึ่งมีขนาดบรรจุของสารสกัดประสะไพล
                 8)  หญิงที่มีโรคประจำาตัวที่อาจเป็นอันตราย   250 มิลลิกรัมต่อแคปซูล และในบทความนี้จะใช้คำา
            หรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จาก  ว่า “ยาประสะไพล” ตลอดทั้งบทความ โดยทั่วไปขนาด

            การใช้ยาแคปซูลประสะไพล เช่น โรคตับ โรคไต    แนะนำาสำาหรับการรักษาภาวะประจำาเดือนมาผิดปกติ
                 9)  หญิงที่มีอาการรุนแรง เช่น มีอาการปวด  ในบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร คือ รับประทาน
            ประจำาเดือนที่รุนแรงจนไม่สามารถดำาเนินชีวิตตาม  ผงยาประสะไพล 1,000 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อน

                                                             [6]
            ปกติได้ มีอาการซึ่งสัมพันธ์กับโรคที่รุนแรง หรือโรค  อาหาร  แต่ในการศึกษานี้ติดตามการใช้ยาแคปซูล
            ที่จำาเป็นจะต้องได้รับวินิจฉัยเพิ่มเติม และควรได้รับ  สารสกัดประสะไพล ซึ่งผงยาประสะไพลสกัดขนาด

            การรักษาในโรงพยาบาล หรือถูกส่งต่อไปพบแพทย์   250 มิลลิกรัม เทียบเท่าผงยาประสะไพล (ตามบัญชี
                                                                                  [10]
            (refer)                                     ยาหลักแห่งชาติ) 1,370 มิลลิกรัม  ดังนั้นขนาดยา
                 เนื่องจากไม่มีข้อมูลการศึกษาที่ประเมินผลของ  ประสะไพลสกัดที่แนะนำาจึงเป็น 250-500 มิลลิกรัม
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82