Page 81 - journal-14-proceeding
P. 81
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
PP60R2R0017 ผลการลดความปวดในมารดาหลังคลอดดวยการประคบสมุนไพร
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกุดโงง
อมรรัตน โพธิ์คํา
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกุดโงง จังหวัดศรีสะเกษ ตําบลโพนขา อําเภอเมือง จังหวัดศรีษะเกษ
หลักการและเหตุผล ปจจุบันศาสตรการแพทยแผนไทยเริ่มมีบทบาทและมีความสําคัญในการดูแลสุขภาพ
ประชาชนมากขึ้น ทั้งภาครัฐและเอกชนไดนําเขามาเปนสวนหนึ่งในระบบบริการสาธารณสุขเพื่อใหประชาชน
เขาถึงระบบบริการสุขภาพดานการแพทยแผนไทยไดอยางทั่วถึง โดยเฉพาะอยางยิ่งการดูแลสุขภาพของ
มารดาหลังคลอดในสถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกุดโงง จึงเห็นความสําคัญใน
การสงเสริมฟนฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอดพบวามากกวารอยละ 90 ของมารดาทั้งหมดที่อยูในเขต
รับผิดชอบจึงทําใหเกิดความไมสุขสบายทั้งทางดานรางกายและดานจิตใจ และจากระยะเวลา 2-3 วันจากการ
คลอดนั้น จะมีความปวดเกิดขึ้นในตําแหนงตางๆบางรายอาจจะมีความปวดทั่วรางกายทําใหเกิดความไมสุข
สบายตามมา ซึ่งสงผลโดยตรงตอการดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรในระยะหลังคลอดได ดังนั้นทีมสหสาขา
วิชาชีพโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกุดโงง จึงมีแนวคิดที่จะบรรเทาความปวดในมารดาหลังคลอดดวยการ
ประคบสมุนไพร และยังเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลและสงเสริมฟนฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอด
วัตถุประสงค เพื่อเปรียบเทียบกอนและหลังการลดความปวดในมารดาหลังคลอดดวยการประคบสมุนไพร
วิธีดําเนินการ เปนวิจัยแบบกึ่งทดลอง one-group pre-post test คัดเลือกแบบเจาะจงจํานวน 35 ราย คือ
ยินยอมเขารวมวิจัย อยูในระยะหลังคลอดเวลา 7 วัน ไมมีอาการแทรกซอนหลังคลอด ไมเคยแพสมุนไพร เก็บ
ขอมูล ระหวางมีนาคม 59 – กุมภาพันธ 60 โดยใชแบบบันทึกขอมูลทั่วไปของผูปวย และแบบประเมินความ
เจ็บปวดโดยใช Pain Visual Analog Scale ทําการประคบสมุนไพรดังนี้ 1.จัดทาของผูปวยใหเหมาะสมกับ
ตําแหนงที่จะประคบ 2.ประคบโดยตรงในตอนแรกตองทําดวยความรวดเร็ว ไมวางลูกประคบไวบนผิวหนัง
ผูปวยนาน ๆ เพียงแตแตะลูกประคบแลวยกขึ้น 3.เลื่อนประคบตําแหนงถัดไปตามแนวกลามเนื้อ 4.ทําการ
ประคบตําแหนงตางๆประมาณ 3-5 รอบ ใชเวลาประมาณทั้งสิ้น 20 นาที/ราย วัดความปวดกอนและหลังการ
ทดลอง ใชสถิติเชิงพรรณนาเปรียบเทียบผลตางคาเฉลี่ยทดสอบคา Paired – Samples T – Test
ผลการศึกษา พบวาจากมารดาหลังคลอดทั้งหมด 35 ราย ผลวิเคราะหพบวา สวนใหญมีความปวดอยูใน
ระดับปวดมากพอสมควร 6-7 คะแนน 15 ราย คิดเปนรอยละ 42.85 รองลงมาปวดในระดับปานกลาง 5
คะแนน 12 ราย คิดเปนรอยละ 34.28 และปวดในระดับเล็กนอย 4 คะแนน 8 ราย คิดเปนรอยละ 22.85
หลังจากประคบสมุนไพรแลวความปวดลดลงอยูในระดับพอรําคาญ 3 คะแนะ 27 ราย คิดเปนรอยละ 71.42
และในระดับปวดเล็กนอย 4 คะแนน 7 ราย คิดเปนรอยละ 28.57 และจากการเปรียบเทียบหลังจากกลุม
ตัวอยางไดรับการประคบสมุนไพร ระดับคะแนนความปวดลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ( P–value <0.001)
ขอสรุป มารดาหลังคลอดการที่ไดรับการประคบดวยสมุนไพร สามารถชวยลดความปวดลงไดผลคอนขางดี
และยังเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่นํามาใชในการรักษา อีกทั้งยังชวยสงเสริมสุขภาพของผูรับบริการและประชาชน
ในเขตโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลกุกโงงไดเปนอยางดี
79