Page 69 - ภาพนิ่ง 1
P. 69

Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine   Vol. 10 No. 1 January-April 2012   63





             “กิมิชาติ” ดังคัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา  [2/  หงระทด ให้จับตัวร้อนเป็นเปลว เท้าเย็นมือ
             305] ตอนหนึ่งว่า “... จะว่าด้วยโรคอันเกิด  เย็น ให้เชื่อมมัว ไม่มีสติสมปฤดี ให้หอบให้

             สำหรับสัตรีที่เรียกว่าช้ำรั่วมีอยู่ 4 ประการ   สอึก ...” หรือดังคัมภีร์ประถมจินดา [2/68]
             คือเกิดเพราะคลอดบุตรมดลูกเน่า 1 คือเกิด    ตอนหนึ่งว่า “... กาลเกิดขึ้นแต่หทัยลงไป 4
             เพราะส้องเสพย์กับด้วยบุรุศเกินประมาณ 1     5 เวลา 9 10 เวลา ก็ดี ให้ลงเปนโลหิตสดสด

             คือเปนฝีในมดลูกแลเปนบุพโพจาง ๆ เปนน้ำ      ออกมาก่อนแล้ว จึ่งลามลงมาถึงหัวตับ แลหัว
             เหลืองดังน้ำคาวปลา 1 คือเปนเพราะน้ำ        ตับนั้นขาดออกมาเปนลิ่ม แท่งให้ดำดังถ่าน
             เหลืองนั้นร้ายจึ่งกัดทวารเบานั้นเปื่อยไป   ไฟอุจาระดังขี้เทา ให้ระสำระสาย บางทีให้

             แล้วให้ปัศสาวะนั้นหยด ๆ ย้อย ๆ ให้ปวด      เชื่อมมึนให้มือเท้าเยนให้เคลิบเคลิ้มหาสติมิ
             แสบนัก  ให้ขัดหัวเหน่า  1  รวมเปน  4       ได้ แลคนสมมุติว่าผีเข้าอยู่นั้นหามิได้เลย คือ

             ประการ …”.                                 ไข้หมู่นี้เองกระทำดุจผีตะกละเข้าสิง ...” หรือ
          ชิรณัคคี  [ชิระนักคี] น.  ไฟเผาร่างกายให้แก่   คัมภีร์โรคนิทาน [2/330] ตอนหนึ่งว่า “...
             คร่ำคร่า ทำให้ร่างกายเหี่ยวแห้งทรุดโทรม    โลหิตพิการให้คลั่งเพ้อพก ให้ร้อน เหื่อพิการ

             ชราภาพ ทุพพลภาพไป เป็นองค์ประกอบ 1         มักให้เชื่อมซึม มันข้นพิการมักให้ตัวชาสากไป
             ใน 4 ชนิดของธาตุไฟ.                        ...”.
          ชิวหาโรโค  [ชิวหาโรโค]  น.  กลุ่มโรคหรือ  เชื่อมซึม ดูใน เชื่อม.

             อาการซึ่งเกิดขึ้นที่ลิ้น ที่เรียกตามสมุฏฐาน เชื่อมมัว ดูใน เชื่อม.
             เบญจอินทรีย์ เช่น ลิ้นแตก ลิ้นเปื่อย. (มา เชื่อมมึน ดูใน เชื่อม.
             จากคำ ชิวหา แปลว่า ลิ้น และ โรโค แปลว่า  โชน  ว. ไหม้ทั่วเต็มที่ เช่น ไฟลุกโชน.

             โรค).                                   ไชยเพท,  ไชยเภท  [ไชยะเพด]  น.  รูปที่เริ่ม
          เชื่อม  1.  น.  อาการอย่างหนึ่งของผู้ป่วยที่   กำเนิดขึ้นภายในครรภ์มารดา นับตั้งแต่วันที่

             เป็นโรคบางชนิด มีลักษณะอาการหน้าหมอง       7 หลังจากวันปฏิสนธิดังคัมภีร์ประถมจินดา
             ซึม มึนงง ตาปรือ คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็น   [1/173] ตอนหนึ่งว่า “... ครั้นโลหิตตั้งขึ้นได้
             อาการที่เกิดจากพิษไข้หรือพิษของโรคบาง      แล้วอยู่ 7 วันก็บังเกิดเปนปฐมังกะละกะลม

             ชนิด. 2. ว.มีอาการเงื่องหงอยมึนซึมคล้าย    นั้นก็เรียกว่าไชยเพท คือมีรดูล้างน้าที่ 1 ถ้ามิ
             เป็นไข้ ตำราการแพทย์แผนไทยมักใช้คำนี้      ดังนั้นก็ให้มารดา ฝันเหนวิปริต ก็รู้ว่าครรภ

             ร่วมกับคำอื่นที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับ    ตั้งแลครรภตั้งขึ้นแล้ว ...”.
             อาการที่แสดงออกให้เห็นเด่นชัด ได้แก่ เชื่อม ซ่วง ดู ส้วง.
             ซึม เชื่อมมึน และเชื่อมมัว ดังคัมภีร์ตักกศิลา  ส้วง น. ช่อง, โพรง, (โดยมากมักใช้กับทวาร

             [14/514] ตอนหนึ่งว่า “... ทีนี้จะว่าด้วยไข้  หนัก), เขียนว่า ซ่วง, ทร่วง ก็มี.
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74