Page 64 - ภาพนิ่ง 1
P. 64
58 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555
ไข้ดอกบวบ ดู ไข้ป่า. ในทางการแพทย์แผนไทยอาจแบ่งโรคนี้
ไข้ดอกสัก ดู ไข้ป่า. (โบราณเรียกเช่นนี้ ตามฤดูกาลเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ไข้ใน
เนื่องจากผู้ป่วยมักเป็นโรคนี้ในช่วงฤดูฝน ซึ่ง ฤดูร้อน ไข้ในฤดูฝน และไข้ในฤดูหนาว
เป็นช่วงที่ดอกสักบาน). ดังคัมภีร์ตักกศิลา [15/356] ตอนหนึ่งว่า
ไข่ดัน น. ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ใต้ผิวหนังของ “... พระอาจารย์เจ้าจะแสดงซึ่งไข้ทั้งสาม
บริเวณขาหนีบทั้ง 2 ข้าง ซึ่งเป็นแนว สืบต่อไป แลไข้ในคิมหันตฤดูนั้นคือ เดือน 5,
ต่อระหว่าง ลำตัวกับต้นขา ทำหน้าที่กักและ เดือน 6, เดือน 7, เดือน 8 เป็นไข้เพื่อโลหิต
ทำลายเชื้อโรคที่อาจผ่านเข้ามาในร่างกาย เป็นใหญ่กว่าลม กว่าเสมหะทั้งปวง
ท่อนบน, ฟองดัน ก็เรียก. ทุกประการ ไข้ในวัสสานะฤดูนั้นคือ เดือน 9,
ไข้ตรีโทษ น. ความเจ็บป่วยอันเกิดจาก เดือน 10, เดือน 11, เดือน 12 นี้ ไข้เพื่อ
กองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ และเสมหะ ร่วม ลมเป็นใหญ่กว่าเลือด และเสมหะทั้งปวง
กันกระทำให้เกิดโทษ. ทั้งสองประการ ไข้ในเหมันตฤดูนั้นคือ
ไข้ตามฤดู ดู ไข้เปลี่ยนฤดู. เดือน 1-2-3-4 นี้ไข้เพื่อกำเดา แลเพื่อดีพลุ่ง
ไข้ป่า น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการไข้สูง เป็นใหญ่กว่าเสมหะ แลลมทั้งสองประการ
มากเป็นเวลา ส่วนใหญ่มักมีอาการหนาวสั่น อาการมีต่างๆ ให้นอนละเมอฝันร้ายแล
ร่วมด้วย นอกจากนั้น ยังอาจมีอาการ เพ้อไป ย่อมเป็นหวัด มองคร่อหิวหาแรงมิได้
ปวดศีรษะ มือและเท้าเย็น มีเหงื่อออกมาก ให้เจ็บปาก ให้เท้าเย็น, มือเย็นแลน้ำลายมาก
กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อย หากเป็นติดต่อกัน แลกระหายน้ำเนืองๆ แลให้อยากเนื้อพล่า
หลายวันไม่หาย ผู้ป่วยจะซีด เบื่ออาหาร ปลายำสดคาว ให้อยากกินหวาน, กินคาว
ตับโต ม้ามโต เป็นต้น โบราณเรียก ไข้ป่า มักให้บิดขี้เกียจคร้าน มักเป็นฝีพุพองเจ็บ
เนื่องจากผู้ป่วยมักเป็นโรคนี้หลังกลับออกมา ข้อเท้าข้อมือ ย่อมสะท้านหนาวดังนี้ ท่านให้
จากป่า, ไข้จับสั่น ไข้ดอกสัก หรือ วางยาอันร้อนจึงชอบโรคนั้นแล ... ”,
ไข้ดอกบวบ ก็เรียก. ไข้ตามฤดู ไข้สามฤดู ไข้หัวลม หรือ
ไข้ป้าง ดู ป้าง. อุตุปริณามชาอาพาธา ก็เรียก.
ป้าง น. อาการม้ามโต มักเกิดในเด็ก อาจเกิดจาก ไข้สามฤดู ดู ไข้เปลี่ยนฤดู.
สาเหตุต่าง ๆ ได้หลายอย่าง เช่น ไข้จับสั่น ไขเสนียด ดู น้ำครำ.
เรื้อรัง โรคทาลัสซีเมีย ผู้ป่วยมักมีไข้ น้ำไขเสนียด ดู น้ำครำ.
คลุมเครือเรื้อรังร่วมด้วย จึงมักเรียก ไข้ป้าง. น้ำครำ น. 1. น้ำกระสายยาชนิดหนึ่ง ได้จาก
ไข้เปลี่ยนฤดู น. โรคชนิดหนึ่ง มักเกิดขึ้นในช่วง น้ำเสียที่ขังอยู่ในพื้นดินที่เป็นแอ่ง เช่น
รอยต่อของแต่ละฤดู ผู้ป่วยมักมีไข้ ใต้ถุนครัว แพทย์โบราณมักเตรียมได้โดยการ
สะบัดร้อนสะท้านหนาว กระหายน้ำ เป็นต้น ปักไม้หลักห่างจากแอ่งน้ำเสียนั้นประมาณ